- พระประวัติ สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
- เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๑
- ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๑ น
- ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๑ ยส
- ๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๑ น
- ๑๔ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๑ ยส
- ๑๖ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๑ น
- ๒๓ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๑ ยส
- ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๑ น
- ๑๓ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๑ ยส
- ๑๖ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๑ น (๒)
- ๑๓ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๑ น
- ๑๔ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๑ น
- ๑๕ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๑ น
- ๑๖ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๑ ยส
- ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๑ น
- ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๑ น (๒)
- ๒๓ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๑ ยส (๒)
- ๒๔ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๑ น
- ๒๕ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๑ น
- ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๑ ยส
- ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๑ น
- ๓๐ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๑ ยส
- พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๑
- ๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ น
- ๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ ยส
- ๑๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ น
- ๑๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ ยส
- ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ ยส
- ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ น
- ๒๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ ยส
- ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ น
- ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ น (๒)
- ๒๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ ยส (๒)
- ๒๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ น
- ๒๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ ยส (๓)
- ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ น (๒)
- ๓๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ ยส
- ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ ยส
- ๒๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ น
- ๓๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ ยส (๒)
- มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๑
- ๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๑ น
- ๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๑ ยส
- ๑๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๑ น
- ๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๑ น
- ๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๑ ยส
- ๑๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๑ น (๒)
- ๑๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๑ ยส
- ๑๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๑ น
- ๑๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๑ น
- ๒๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๑ ยส
- ๒๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๑ น
- ๒๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๑ น (๒)
- ๒๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๑ น
- กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๑
- สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๘๑
- กันยายน พ.ศ. ๒๔๘๑
- ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๑
- ๑๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ น
- ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ น
- ๑๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ ยส
- ๑๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ น
- ๑๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ น
- ๑๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ ยส
- ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ น
- ๑๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ น
- ๑๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ ยส
- ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ น (๒)
- ๒๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ ยส
- ๒๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ น
- ๒๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ ยส
- ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ น
- ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ น (๒)
- พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๑
- ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๑
- มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๑
- กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๘๑
- มีนาคม พ.ศ. ๒๔๘๑
- ภาคผนวก
๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ น (๒)
ตำหนักปลายเนิน คลองเตย
วันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๔๘๑
พระยาอนุมานราชธน
ได้รับหนังสือของท่าน ลงวันที่ ๑๒ เรื่องไล่ผี รู้สึกซึมทราบเปนอันมาก
ใครอย่าคุยโตไปเสียให้ยากเลย ย่อมนับถือผือยู่ด้วยกันทั้งนั้น God คืออะไร ผีหรือมิใช่ พูดอย่างเบี่ยงบ่ายก็ว่าเทวดา เทวดาพวกชาวอีศานก็เรียกว่า ผีฟ้า ฉันเห็นเปนถูกต้อง บรรดาศาสนาก็มีพระพุทธเรานี้แหละที่ไม่ใช่ผี แม้กระนั้นชาวเราก็ยังยกให้เป็นผีอยู่นั่นเอง มีปฏิญญากันว่าให้พระแก้วหักคอ ที่แท้พระพุทธเจ้าจะไม่ทำร้ายใครเลย หากแต่เราเคยถือผีมาก่อน จึงจัดการให้พระพุทธเจ้าเปนผี พระพุทธเจ้าต้องมีอำนาจผิดจากคนสามัญ ไม่ฉะนั้นก็ไม่มีคนนับถือ
อันว่าผีนั้นเห็นจะแยกออกได้เปน ๒ พวก คือ ผีดีพวกหนึ่ง ผีร้ายพวกหนึ่ง ผีดีนั้นช่วยคนก็ได้ลงโทษคนก็ได้ แล้วแต่อารมณ์จะพึงพอใจ ส่วนผีร้ายนั้นมีแต่จะข่มเหงคนประตูเดียว บรรดาโรคอันเปนไปโดยธรรมดาพวกที่เรียกว่าล้าหลังก็คิดว่าผีนำเอามาให้ทั้งนั้น จึงต้องขับไล่ไสส่งเอาไปฝัง เอาไปทิ้งน้ำ คนดีมีวิชาซึ่งสามารถจะไล่ผีร้ายได้ต้องมีเครื่องมือ คือ มีดหมอ หวายลงคาถา ทั้งกรวดซายสำหรับขว้างหัวให้หนีไป ตลอดถึงประทัดและปืนเปนต้น อายุฉันก็ได้เห็นมามาก ที่ขับผีจากคนเปนโรคต่าง ๆ เช่น ฝีดาษเปนต้น แต่เดี๋ยวนี้เลิกกันไปหมดแล้ว ส่วนผีดีนั้นดูไม่ยาก ทำอะไรให้ถูกใจ มีเส้นวักตั๊กแตนหรือกล่าวคำเยินยอเปนต้น ก็งดสิ่งร้ายให้สิ่งดีได้
เรื่องมัดศพนั่งนั้น ฉันตั้งใจสืบประเพณีมาหนักทีเดียว แต่ไม่ได้เรื่องเลย แต่แรกคิดว่ามาทางอินเดีย แต่สืบดูทางอินเดียก็ไม่พบ เรื่องราวที่ท่านพบเก็บมาบอกให้นั้นก็รัวเต็มที แต่ก็ดีอยู่ที่มีเค้าว่าการมัดศพนั่งนั้น เปนประเพณีมาทางจีนใต้ ถ้าท่านพบอะไรที่กล่าวละเอียดไปกว่าที่พบแล้ว ขอช่วยบอกด้วย คำ ม่านจือ ม่าน นั้นเราเคยเข้าใจกันว่าพม่า