- เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๒
- พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๒
- มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๒
- กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๒
- ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ น
- ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ น (๒)
- ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ น (๓)
- ๑๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ ยส
- ๑๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ ยส (๒)
- ๑๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ ยส (๓)
- ๑๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ น
- ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ ยส
- ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ น
- ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ ยส (๒)
- ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ ยส (๓)
- ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ น
- ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ น (๒)
- ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ น (๓)
- สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๘๒
- กันยายน พ.ศ. ๒๔๘๒
- ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๒
- ๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ ยส
- ๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ น
- ๑๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ ยส
- ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ น
- ๑๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ ยส
- ๑๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ น
- ๑๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ ยส (๒)
- ๑๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ ยส
- ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ น
- ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ น (๒)
- ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ ยส
- ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ น
- ๓๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ ยส
- ๓๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ น
- ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ น
- พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๒
- ๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๒ ยส
- ๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๒ น
- ๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๒ ยส
- ๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๒ น
- ๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๒ ยส (๒)
- ๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๒ น
- ๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๒ ยส
- ๑๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๒ น
- ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๒ ยส
- ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๒ น
- ๒๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๒ น
- ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๒ ยส
- ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๒ น
- ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๒
- มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๒
- กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๘๒
- มีนาคม พ.ศ. ๒๔๘๒
- ภาคผนวก
๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ น
ตำหนักปลายเนิน คลองเตย
วันที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๔๘๒
พระยาอนุมานราชธน
จะบอกเรื่อง พระร่วง ขยายความให้ได้สติต่อไปอีกหน่อย ด้วยได้พระดำรัสสมเด็จกรมพระยาดำรงเข้ามา ทรงแสดงความตามที่ได้ทรงสังเกตเห็นว่า อันนามพระร่วงนั้น ไม่ได้ใช้จำเพาะแต่พ่อขุนบางกลางท่าวผู้เดียว ย่อมใช้เพรื่อไปในพญาผู้ครองสุโขไทหลายองค์ และใช้ดกดื่นอยู่ในแขวงพายัพ ทางจารึกหลักศิลา หาได้มีวี่แววไม่เลย
โดยพระดำรัสซึ่งมีประการดั่งนี้ ทำให้ฉันมีความเห็นเพ่นพ่านไปว่า นิทานเรื่องพระร่วงนั้น เปนนิทานเก่า ทำไมจึ่งยืนยันว่าเก่า ยืนยันด้วยเคยพบทางเขมรเขาก็มี จนเขาเอามาใช้ชื่อเพลงว่า พระโถง (พระทอง) นางนาค ทางมอญ พะม่า จะมีหรือไม่มียังไม่พบ แต่เชื่อว่ามีเหมือนกัน คิดว่าเอามาปรับปรุงเข้าให้เปนชื่อพญาผู้ครองสุโขไท ด้วยหวังจะยกยศให้สูงกว่าเปนผู้มีบุญ เพราะพระร่วงเปนผู้มีบุญที่มีวาจาสิทธิ์ ทั้งนี้ก็เหมือนกับนิทานเรื่องท้าวอู่ทอง นั่นก็เอามายกถวายสมเด็จพระรามาธิบดี (ที่ ๑) เหมือนกัน
ตามที่ว่านี้ จะได้ทำลายความเห็นเรื่องเมืองพระบางนั้นหามิได้ คำ บาง ตามพจนานุกรมอาหมแปลให้ไว้ว่า Glitter ก็ตรงกับ รุ่งเรือง พอจะปรับกันเข้าได้กับชื่อพระร่วงผู้มีบุญ จึงเอามาปรับเข้าเปนอันเดียวกัน แต่ที่จริงต่างคนต่างอยู่ไหน ๆ มิรู้