- คำนำ
- พระประวัติ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
- พระนิพนธ์ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
- ปรารภเรื่อง
- ฉันท์วรรณพฤติ
- ๑. ชื่อตะนุมัชฌาฉันท์
- ๒. ชื่อกุมาระลฬิตาฉันท์
- ๓. ชื่อจิตรปทาฉันท์
- ๔. ชื่อวิชชุมมาลาฉันท์
- ๕. ชื่อมาณะวะกะฉันท์
- ๖. ชื่อหละมุขีฉันท์
- ๗. ชื่อรุมะวดีฉันท์
- ๘. ชื่ออุปัฐฐิตาฉันท์
- ๙. ชื่ออินทวิเชียรฉันท์
- ๑๐. ชื่ออุเปนทวิเชียรฉันท์
- ๑๑. ชื่ออุปชาติฉันท์
- ๑๒. ชื่อสุมุขีฉันท์
- ๑๓. ชื่อโทธะกะฉันท์
- ๑๔. ชื่อสาลินีฉันท์
- ๑๕. ชื่อธาตุมมิสสาฉันท์
- ๑๖. ชื่อสุรสะสิรีฉันท์
- ๑๗. ชื่อรโธทธตาฉันท์
- ๑๘. ชื่อสวาคตาฉันท์
- ๑๙. ชื่อภัททิกาฉันท์
- ๒๐. ชื่อวังสัฐะฉันท์
- ๒๑. ชื่ออินทวงษฉันท์
- ๒๒. ชื่อโตฏกฉันท์
- ๒๓. ชื่อทุตะวิลัมพิตะมาลาฉันท์
- ๒๔. ชื่อปุฏะฉันท์
- ๒๕. ชื่อกุสุมะวิจิตรฉันท์
- ๒๖. ชื่อภุชงคปยาตฉันท์
- ๒๗. ชื่อปิยังวทาฉันท์
- ๒๘. ชื่อลลิตาฉันท์
- ๒๙. ชื่อปมิตักขราฉันท์
- ๓๐. ชื่ออุชลาฉันท์
- ๓๑. ชื่อเวศเทวีฉันท์
- ๓๒. ชื่อมรสังฉันท์
- ๓๓. ชื่อกมลฉันท์
- ๓๔. ชื่อปหาสินีฉันท์
- ๓๕. ชื่อรุจิราฉันท์
- ๓๖. ชื่อปราชิตฉันท์
- ๓๗. ชื่อปหรณะกุลิกาฉันท์
- ๓๘. ชื่อวสันตดิลกฉันท์
- ๓๙. ชื่อมาลีนีฉันท์
- ๔๐. ชื่อปภัททกะฉันท์
- ๔๑. ชื่อวาณินีฉันท์
- ๔๒. ชื่อศิขิริณีฉันท์
- ๔๓. ชื่อหรณีฉันท์
- ๔๔. ชื่อมันทักกันตาฉันท์
- ๔๕. ชื่อกุสุมิตะลดาเวลิตาฉันท์
- ๔๖. ชื่อเมฆวิบผุชะตาฉันท์
- ๔๗. ชื่อสัททัละวิกกีฬิตะฉันท์
- ๔๘. ชื่ออีทิสังฉันท์
- ๔๙. ชื่อสัทธราฉันท์
- ๕๐. ชื่อภัทกะฉันท์
- ฉันท์มาตราพฤติ
ปรารภเรื่อง
ฉันท์วรรณพฤติและฉันท์มาตราพฤตินี้ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระบรมราชโองการให้กรมหมื่นไกรสรวิชิตทรงอาราธนาสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรสทรงพระนิพนธ์เมื่อ พ.ศ. ๒๓๘๕ โดยทรงแปลจากคัมภีร์วุตโตทัยซึ่งเป็นภาษาบาลี ฉันท์วรรณพฤติเป็นแบบฉันท์ที่กำหนดด้วยอักษร คือกำหนดเสียงครุลหุเป็นสำคัญ ฉันท์มาตราพฤติเป็นแบบฉันท์ที่กำหนดด้วยมาตรา คือวางจังหวะมาตราสั้นยาวของเสียงเป็นสำคัญ คัมภีร์วุตโตทัยระบุฉันท์วรรณพฤติ ๘๓ ชนิด มาตราพฤติ ๒๕ ชนิด รวม ๑๐๘ ชนิด แต่สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรสทรงแสดงแบบของฉันท์วรรณพฤติไว้ ๕๐ ชนิด มาตราพฤติ ๘ ชนิด เนื้อเรื่องในตัวอย่างการแต่งฉันท์นั้นทรงนำมาจากธรรมะทางพระพุทธศาสนา ในฉันท์วรรณพฤติเป็นอรรถธรรมสอนบุคคลทั่วไป เช่น อบายมุข ๖ กุศลกรรมบถ มงคลสูตร เป็นต้น ส่วนในฉันท์มาตราพฤติเป็นราชธรรมคือธรรมะสำหรับกษัตริย์
นอกจากจารึกแผ่นศิลาที่วัดพระเชตุพนแล้ว ยังมีเอกสารตัวเขียนเรื่องฉันท์วรรณพฤติ และฉันท์มาตราพฤติอยู่ในหอสมุดแห่งชาติหลายสำรับ ในการพิมพ์ครั้งนี้ได้เลือกต้นฉบับฉันท์วรรณพฤติ สมุดไทยดำ เส้นหรดาล เลขที่ ๓๐๔ และ ๓๐๕ ฉันท์มาตราพฤติ สมุดไทยดำ เส้นหรดาล เลขที่ ๒๙๕ ซึ่งสมบูรณ์ทั้งเนื้อหาและเส้นอักษรมาพิมพ์ไว้ด้วย ในการศึกษาฉันท์วรรณพฤติและมาตราพฤติที่อยู่ในจารึกเทียบกับฉบับพิมพ์และเอกสารตัวเขียนพบว่ามีสิ่งที่ต่างกันหลายแห่ง โดยเฉพาะข้อความที่เป็นอักษรขอมภาษาบาลี ซึ่งสมควรจะได้มีการชำระในเวลาต่อไป
ฉันท์วรรณพฤติและมาตราพฤติเป็นแบบแผนสำหรับการแต่งฉันท์ที่ยึดถือเป็นตำราได้ ที่พิเศษคือผู้ศึกษาจะได้รับความรู้ทั้งรูปแบบฉันท์และเนื้อหาทางธรรม เป็นประโยชน์ทั้งทางด้านภาษา วรรณคดีและพระพุทธศาสนา ต้องกันกับพระปรีชาสามารถทั้งทางคดีโลกและคดีธรรมของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรสผู้ทรงพระนิพนธ์เป็นอย่างยิ่ง
ฉันท์วรรณพฤติ ๕๐ ชนิด
๑. ชื่อตะนุมัชฌาฉันท์
๒. ชื่อกุมาระลฬิตา
๓. ชื่อจิตรปทาฉันท์
๔. ชื่อวิชชุมมาลาฉันท์
๕. ชื่อมาณะวะกะฉันท์
๖. ชื่อหละมุขี
๗. ชื่อรุมะวดีฉันท์
๘. ชื่ออุปัฐฐิตาฉันท์
๙. ชื่ออินทวิเชียรฉันท์
๑๐. ชื่ออุเปนทวิเชียรฉันท์
๑๑. ชื่ออุปชาติฉันท์
๑๒. ชื่อสุมุขีฉันท์
๑๓. ชื่อโทธะกะฉันท์
๑๔. ชื่อสาลินีฉันท์
๑๕. ชื่อธาตุมมิสสาฉันท์
๑๖. ชื่อสุรสะสิรีฉันท์
๑๗. ชื่อรโธทธตาฉันท์
๑๘. ชื่อสวาคตาฉันท์
๑๙. ชื่อภัททิกาฉันท์
๒๐. ชื่อวังสัฐะฉันท์
๒๑. ชื่ออินทวงษฉันท์
๒๒. ชื่อโตฏกฉันท์
๒๓. ชื่อทุตะวิลัมพิตะมาลาฉันท์
๒๔. ชื่อปุฏะฉันท์
๒๕. ชื่อกุสุมะวิจิตรฉันท์
๒๖. ชื่อภุชงคปยาตฉันท์
๒๗. ชื่อปิยังวทาฉันท์
๒๘. ชื่อลลิตาฉันท์
๒๙. ชื่อปมิตักขราฉันท์
๓๐. ชื่ออุชลาฉันท์
๓๑. ชื่อเวศเทวีฉันท์
๓๒. ชื่อมรสังฉันท์
๓๓. ชื่อกมลฉันท์
๓๔. ชื่อปหาสินีฉันท์
๓๕. ชื่อรุจิราฉันท์
๓๖. ชื่อปราชิตฉันท์
๓๗. ชื่อปหรณะกุลิกาฉันท์
๓๘. ชื่อวสันตดิลกฉันท์
๓๙. ชื่อมาลีนีฉันท์
๔๐. ชื่อปภัททกะฉันท์
๔๑. ชื่อวาณินีฉันท์
๔๒. ชื่อศิขิริณีฉันท์
๔๓. ชื่อหรณีฉันท์
๔๔. ชื่อมันทักกันตาฉันท์
๔๕. ชื่อกุสุมิตะลดาเวลิตาฉันท์
๔๖. ชื่อเมฆวิบผุชะตาฉันท์
๔๗. ชื่อสัททัละวิกกีฬิตะฉันท์
๔๘. ชื่ออีทิสังฉันท์
๔๙. ชื่อสัทธราฉันท์
๕๐. ชื่อภัทกะฉันท์