- คำนำ
- พระประวัติ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
- พระนิพนธ์ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
- ปรารภเรื่อง
- ฉันท์วรรณพฤติ
- ๑. ชื่อตะนุมัชฌาฉันท์
- ๒. ชื่อกุมาระลฬิตาฉันท์
- ๓. ชื่อจิตรปทาฉันท์
- ๔. ชื่อวิชชุมมาลาฉันท์
- ๕. ชื่อมาณะวะกะฉันท์
- ๖. ชื่อหละมุขีฉันท์
- ๗. ชื่อรุมะวดีฉันท์
- ๘. ชื่ออุปัฐฐิตาฉันท์
- ๙. ชื่ออินทวิเชียรฉันท์
- ๑๐. ชื่ออุเปนทวิเชียรฉันท์
- ๑๑. ชื่ออุปชาติฉันท์
- ๑๒. ชื่อสุมุขีฉันท์
- ๑๓. ชื่อโทธะกะฉันท์
- ๑๔. ชื่อสาลินีฉันท์
- ๑๕. ชื่อธาตุมมิสสาฉันท์
- ๑๖. ชื่อสุรสะสิรีฉันท์
- ๑๗. ชื่อรโธทธตาฉันท์
- ๑๘. ชื่อสวาคตาฉันท์
- ๑๙. ชื่อภัททิกาฉันท์
- ๒๐. ชื่อวังสัฐะฉันท์
- ๒๑. ชื่ออินทวงษฉันท์
- ๒๒. ชื่อโตฏกฉันท์
- ๒๓. ชื่อทุตะวิลัมพิตะมาลาฉันท์
- ๒๔. ชื่อปุฏะฉันท์
- ๒๕. ชื่อกุสุมะวิจิตรฉันท์
- ๒๖. ชื่อภุชงคปยาตฉันท์
- ๒๗. ชื่อปิยังวทาฉันท์
- ๒๘. ชื่อลลิตาฉันท์
- ๒๙. ชื่อปมิตักขราฉันท์
- ๓๐. ชื่ออุชลาฉันท์
- ๓๑. ชื่อเวศเทวีฉันท์
- ๓๒. ชื่อมรสังฉันท์
- ๓๓. ชื่อกมลฉันท์
- ๓๔. ชื่อปหาสินีฉันท์
- ๓๕. ชื่อรุจิราฉันท์
- ๓๖. ชื่อปราชิตฉันท์
- ๓๗. ชื่อปหรณะกุลิกาฉันท์
- ๓๘. ชื่อวสันตดิลกฉันท์
- ๓๙. ชื่อมาลีนีฉันท์
- ๔๐. ชื่อปภัททกะฉันท์
- ๔๑. ชื่อวาณินีฉันท์
- ๔๒. ชื่อศิขิริณีฉันท์
- ๔๓. ชื่อหรณีฉันท์
- ๔๔. ชื่อมันทักกันตาฉันท์
- ๔๕. ชื่อกุสุมิตะลดาเวลิตาฉันท์
- ๔๖. ชื่อเมฆวิบผุชะตาฉันท์
- ๔๗. ชื่อสัททัละวิกกีฬิตะฉันท์
- ๔๘. ชื่ออีทิสังฉันท์
- ๔๙. ชื่อสัทธราฉันท์
- ๕๐. ชื่อภัทกะฉันท์
- ฉันท์มาตราพฤติ
๖. ชื่อโอปัจฉันทสกะฉันท์
|
ร.
|
ย.
|
||||||||
ั | ั | ั | ั | ํ | ั | ํ | ั | ั | ||
เว | ตา | ฬี | โย | ป | มํ | มุ | เข | ตํ | ||
๖ | ๕ | ๕ | ||||||||
๑๖ มาตรา |
||||||||||
|
ร.
|
ย.
|
||||||||
ั | ั | ั | ํ | ํ | ั | ํ | ั | ํ | ั | ั |
โอ | ปจฺ | ฉนฺ | ท | ส | กํ | ร | ยา | ย | ทนฺ | เต |
๘ | ๕ | ๕ | ||||||||
๑๘ มาตรา |
มีบทบังคับว่าบาท ๓๑ มีมาตรา ๖ กับระคณะและยะคณะ
นับเปน ๑๖ มาตราดุจกัน บาท ๔๒ มีมาตรา ๘
กับระคณะและยะคณะ นับเปน ๑๘ มาตราดุจกัน
ชื่อโอปัจฉันทสกะฉันท์ ดังนี้
ราชาธิราช
|
ร.
|
ย.
|
|||||||||
ํ | ั | ํ | ั | ั | ํ | ั | ํ | ั | ั | ||
ประ | พฤ | ทธิ | คด๑ | สาม | ประ | การ | วิ | ฐาร | อรรถ | ||
๖ | ๕ | ๕ | |||||||||
๑๖ มาตรา |
|||||||||||
|
ร.
|
ย.
|
|||||||||
ั | ํ | ั | ํ | ํ | ั | ํ | ั | ํ | ั | ั | |
จำ | แนก | ไตร | วิ | ธ | วัต | พิ | ธี | ก็ | มี | ผล | |
๗ | ๕ | ๕ | |||||||||
๑๘ มาตรา |
|||||||||||
|
ร.
|
ย.
|
|||||||||
ั | ํ | ั | ํ | ั | ํ | ั | ํ | ั | ั | ||
คือ | จะ | ล้าง | ชิ | พิ | ตร | ผู้ | ริ | ปู | ตน | ||
๖ | ๕ | ๕ | |||||||||
๑๖ มาตรา |
|||||||||||
|
ร.
|
ย.
|
|||||||||
ํ | ั | ํ | ํ | ํ | ั | ั | ํ | ั | ํ | ั | ั |
ก็ | เผย | พ | จ | น | แยบ | ยนตร์ | อุ | บาย | ริ | ร้าย | กัน |
๘ | ๕ | ๕ | |||||||||
๑๘ มาตรา |
๏ หนึ่งเมื่อทำยุทธนาประจามิตร | ก็กอปเลศคดคิดพิบัติบสัตย์สรรพ์ |
หนึ่งแก้ตนเพื่อจะพ้นณไภยัน | จึงกล่าวกลคดอันจะรอดฤวอดวาย |
๏ คดทั้งสามตามรบอบบกอปโทษ | เหตุเหนเปนประโยชนกี้ก็มีหลาย |
ชื่อสริฉประเภทนิเทศบรรยาย | จำแนกบทอธิบายนุสาสน์ประกาศกล |
๏ คือกตัญญุภาพแลทราบพระคุณท่าน | กัตเวทิกิจการก็ตอบประกอบผล |
หนึ่งมั่นในสัตยคดีวจีตน | ทุกขสัตว์อื่นยลก็เปรียบประเทียบกาย |
๏ ประพฤทธ์เปนกัลยาณมิตร | จิตรสงเคราะห์หมู่ญาติมิตรพันธุมั่นหมาย |
หกสิ่งชื่อถือประเสรอฐจะเลิศชาย | กระวีจำคำภิปรายก็ชอบประกอบตาม |
๏ มุสาเก้าประการก็มีวิธีแถลง | นฤโทษประโยชนแสดงบตัดประหยัดห้าม |
คือจะให้นิราศภัยก็ปดความ | หนึ่งจะอำรหัสถามบบอกแลพรอกพราง |
๏ อีกจะเปลื้องชีพิตรอดเพราะพลอดเท็จ | จะปลดทุกขสัตวเสร็จก็กลับสปลับอ้าง |
จะเอาไชยแลไขนุสนธิ์วิกลลาง | จะลวงภิริยพร้องบ้างอสัตยวัจนา |
๏ ทุกขตนจะแก้ก็แปรวจีผิด | เหนเหตุรหัสมิตรจะสันเพราะมารษา |
จักยังโลกยกอปกุศลนานา | จึงเอื้อนอลิกกถาก็ครบขนบเนาว์ |
๏ ล้วนแต่คุณวัฒนาสุภาสิต | จงมนสิการกิจถกลจะยลเสา |
วภาคย์ผลพิบูลย์อดูลยเพริศเพรา | เจรอญศิริทุกค่ำเช้าบร้างจะวางวาย |
๏ ฉันท์นี้ก็มีประถมสมญา | โอปัจฉันทสการะดับฉบัพหมาย |
เสนออเนกทวยธิราคณานาย | รเมียลสารอ่านธิบายยุบลนิพนธ์แสดง |
๏ พึงเพิ่มเพียรเรียนรจิตรประดิษฐพจน์ | ถูกถ้วนขบวนณะบทบผิดลิขิตแถลง |
ปรีชาชาญจักฉะฉานจะเชี่ยวแรง | เฉลียวเชลงลักษณแต่งตระหล่งปรุปร่งกลอน |
-
๑. ฉบับพิมพ์ว่า ประพฤทธิไตร ↩