- คำนำ
- พระประวัติ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
- พระนิพนธ์ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
- ปรารภเรื่อง
- ฉันท์วรรณพฤติ
- ๑. ชื่อตะนุมัชฌาฉันท์
- ๒. ชื่อกุมาระลฬิตาฉันท์
- ๓. ชื่อจิตรปทาฉันท์
- ๔. ชื่อวิชชุมมาลาฉันท์
- ๕. ชื่อมาณะวะกะฉันท์
- ๖. ชื่อหละมุขีฉันท์
- ๗. ชื่อรุมะวดีฉันท์
- ๘. ชื่ออุปัฐฐิตาฉันท์
- ๙. ชื่ออินทวิเชียรฉันท์
- ๑๐. ชื่ออุเปนทวิเชียรฉันท์
- ๑๑. ชื่ออุปชาติฉันท์
- ๑๒. ชื่อสุมุขีฉันท์
- ๑๓. ชื่อโทธะกะฉันท์
- ๑๔. ชื่อสาลินีฉันท์
- ๑๕. ชื่อธาตุมมิสสาฉันท์
- ๑๖. ชื่อสุรสะสิรีฉันท์
- ๑๗. ชื่อรโธทธตาฉันท์
- ๑๘. ชื่อสวาคตาฉันท์
- ๑๙. ชื่อภัททิกาฉันท์
- ๒๐. ชื่อวังสัฐะฉันท์
- ๒๑. ชื่ออินทวงษฉันท์
- ๒๒. ชื่อโตฏกฉันท์
- ๒๓. ชื่อทุตะวิลัมพิตะมาลาฉันท์
- ๒๔. ชื่อปุฏะฉันท์
- ๒๕. ชื่อกุสุมะวิจิตรฉันท์
- ๒๖. ชื่อภุชงคปยาตฉันท์
- ๒๗. ชื่อปิยังวทาฉันท์
- ๒๘. ชื่อลลิตาฉันท์
- ๒๙. ชื่อปมิตักขราฉันท์
- ๓๐. ชื่ออุชลาฉันท์
- ๓๑. ชื่อเวศเทวีฉันท์
- ๓๒. ชื่อมรสังฉันท์
- ๓๓. ชื่อกมลฉันท์
- ๓๔. ชื่อปหาสินีฉันท์
- ๓๕. ชื่อรุจิราฉันท์
- ๓๖. ชื่อปราชิตฉันท์
- ๓๗. ชื่อปหรณะกุลิกาฉันท์
- ๓๘. ชื่อวสันตดิลกฉันท์
- ๓๙. ชื่อมาลีนีฉันท์
- ๔๐. ชื่อปภัททกะฉันท์
- ๔๑. ชื่อวาณินีฉันท์
- ๔๒. ชื่อศิขิริณีฉันท์
- ๔๓. ชื่อหรณีฉันท์
- ๔๔. ชื่อมันทักกันตาฉันท์
- ๔๕. ชื่อกุสุมิตะลดาเวลิตาฉันท์
- ๔๖. ชื่อเมฆวิบผุชะตาฉันท์
- ๔๗. ชื่อสัททัละวิกกีฬิตะฉันท์
- ๔๘. ชื่ออีทิสังฉันท์
- ๔๙. ชื่อสัทธราฉันท์
- ๕๐. ชื่อภัทกะฉันท์
- ฉันท์มาตราพฤติ
๗. ชื่อมัตตาสมกะชาติฉันท์
|
ลหุ |
|
ครุ | |||||||
ั | ั | ํ | ํ | ั | ํ | ํ | ั | ั | ั | |
มตฺ | ตา | ส | ม | กํ | น | ว | โม | ลฺคานฺ | เต | |
๘ | ๑ | ๕ | ๒ | |||||||
๑๖ มาตรา |
มีบทบังคับว่ามีมาตรา ๑๖ เสมอกันทัง ๔ บาท
แต่ฉะเพาะให้มีลหุตัว ๑ อยู่ที่คำรบ ๙ มาตรา
และมีครุอยู่ที่สุดทุกบาท
ชื่อมัตตาสมกะชาติฉันท์ ดังนี้
ราชาธิราช
|
ลหุ |
|
||||||||
๙ | ||||||||||
ั | ั | ั | ั | ํ | ํ | ั | ํ | ํ | ั | |
จัก | ร่ำ | เรื่อง | รา | ช | ส | วั | ส | ดิ | วัต | |
๘ | ๑ | ๗ | ||||||||
๑๖ มาตรา |
||||||||||
|
ลหุ |
|
||||||||
๙ | ||||||||||
ั | ั | ั | ั | ํ | ั | ํ | ั | ั | ||
แสดง | อรรถ | โอ | วาท | ประ | สาตร | นุ | สนฑ์ | สอน | ||
๘ | ๑ | ๗ | ||||||||
๑๖ มาตรา |
||||||||||
|
ลหุ |
|
||||||||
๙ | ||||||||||
ั | ั | ั | ั | ํ | ั | ํ | ั | ั | ||
สำ | หรับ | ผู้ | เส | ว | กา | จะ | ถา | วร | ||
๘ | ๑ | ๗ | ||||||||
๑๖ มาตรา |
||||||||||
|
ลหุ |
|
||||||||
๙ | ||||||||||
ั | ั | ํ | ํ | ั | ํ | ั | ํ | ั | ั | |
ฤๅ | หย่อน | ย | ศ | ศัก | ดิ | อรร | ค | โภ | คา | |
๘ | ๑ | ๗ | ||||||||
๑๖ มาตรา |
๏ อย่าก่อกิจประทุจริตในนเรศ | โดยเหตุ์ครุโทษฤโหดณะโทษา |
อีกอาจหาญราญณรงค์ยุทธนา | ชีวาถวายกายบย่อท้ออรินทร์ |
๏ หนึ่งมิได้ประหมาทณะราชบรรหาร | สั่งสารสิ่งใดก็ได้บเสียสิ้น |
มีศีละสัตย์ก็นิพัทธอาจิณ | ภูมินทร์วางไว้พระไทยบเคลือบแคลง |
๏ อย่าโอ่เล่นในฉนวนบควรเที่ยว | คราเดียวดลราชทัณฑ์พลันสยบแสยง |
เข้าเฝ้าท้าวอย่าประดับประดิษแสดง | ตกแต่งภอถานประมาณศักดิ์ควร |
๏ สำรวมรักษาทวารประการห้า | นาสาเนตรโสตรแลโอฐกายถ้วน |
อย่าถือโปรดนักก็มักจะลามลวน | จวบจวนโทษเลมิดจะเกิดประไลยลาญ |
๏ เฝ้าไท้อย่าใกล้แลไกลองค์กระษัตร | พอชัดรับสั่งจะฟังตระหนักสาร |
จงจองจิตร์เสน่ห์สนิจนราบาล | สันดานซื่อสวามิภักดิ์ภูวไนย |
๏ แม้เอาชลชำระบาทราดศิโรตม์ | ห่อนโกรธเคียดข้องฤหมองกระมลไหม้ |
อย่าแสวงชอบชิดพนิตสนมไท | ขานไขพจน์พร้องบพร้องระบอบบรรพ์ |
๏ นับครบขนบขนานประมาณะสิบเสร็จ | โดยเขบ็จ์ราชสวัสดิวัตรธแสร้งสรรค์ |
ทำเนียบหมู่มาตยาสุภาสิตธรรม์ | เกียจกรรสิ่งโทษประโยชนแจกแจง |
๏ ฉันท์นี้บัณฑิตย์รจิตะสมญา | มัตตาสมกะชาติประกาศกระทู้แถลง |
เป็นคำเพลงลเบงบุราณวิถารแสดง | ปราชญ์แจ้งจำฉบับประดับประดิษกลอน |
๏ ล้วนโวหารการย์ผดุงฟุ้งพระยศ | ปรากฎิเถกองกลนิพนธอักษร |
ไว้เฉลิมแหล่งหล้าทวารานคร | ถาวรเพิ่มพูนจรูญจิรังกาล |