- คำนำ
- ไว้อาลัย
- ไว้อาลัย (๒)
- ยมราชานุสสร
- ไว้อาลัย (๓)
- ไว้อาลัย (๔)
- All my recollections...
- เรื่องประวัติเจ้าพระยายมราช
- ร.ศ. ๑๒๔
- ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๑๔ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๓ กันยายน ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๑๑ กันยายน ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๑ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๖ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๒๓ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๙ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๑๐ มกราคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๑๒ มกราคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๓๑ มกราคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๑ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๒ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๓ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๕ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๒๕ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๒๕ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๕ (๒)
- ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๑๕ เมษายน ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๑๑ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๑ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๓ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๓ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๖ (๒)
- วันที่ ๒๔ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๙ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๑๒ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๖ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๑ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๔ กันยายน ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๔ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๔ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๖ (๒)
- วันที่ ๓ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๖ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๖ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๖(๒)
- วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ เดือน ร.ศ. ๑๒
- วันที่ ๖ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๖ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๖(๒)
- วันที่ ๑๒ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๑๕ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๓๐ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๓ มกราคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๔ มกราคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๑๐ มกราคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๒ มกราคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๖ มกราคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๒ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๘ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๙ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๖
- ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๖ เมษายน ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒๑ เมษายน ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒๔ เมษายน ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๖ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๖ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๗(๒)
- วันที่ ๗ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๗ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๗(๒)
- วันที่ ๘ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๑๐ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒๒ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒๒ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๗(๒)
- วันที่ ๒๒ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒๒ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๗(๒)
- วันที่ ๒๗ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๑๒ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๑๔ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๑ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๑๕ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๗(๒)
- วันที่ ๒๐ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒๑ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒๘ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒๙ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒๙ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๗(๒)
- วันที่ ๓๑ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๗(๒)
- วันที่ ๓ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๓ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๗(๒)
- วันที่ ๕ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ พฤศจิกายน ร.ศ.
- วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๔ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๖ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๑๘ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒ มกราคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๓ มกราคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๑๒ มกราคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒๓ มกราคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๑๒ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒๕ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๗
- ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑ เมษายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒ เมษายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๖ เมษายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๗ เมษายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๔ เมษายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๙ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๒ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๖ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๘ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๑ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๘ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๘ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๘ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๘(๒)
- วันที่ ๑ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘(๒)
- วันที่ ๓ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๖ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๑ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๔ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๘ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๑ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๓ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๓ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘(๒)
- วันที่ ๒๙ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๔ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๔ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๘(๒)
- วันที่ ๕ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๐ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๕ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๗ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๙ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๐ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๔ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๕ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๓ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๗ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๙ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๓ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๘(๒)
- วันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๖ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๙ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๐ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๕ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๘ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๘ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๘(๒)
- วันที่ ๒๙ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๘ มกราคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๙ มกราคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๙ มกราคม ร.ศ. ๑๒๘(๒)
- วันที่ ๒๑ มกราคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๘ มกราคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๗ กุมภาพันธ์ ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๕ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๕ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๘(๒)
- วันที่ ๒๔ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๕ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๘
- ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๕ เมษายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๗ เมษายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๘ เมษายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๓๐ เมษายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๘ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๐ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๑ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๓ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๔ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๘ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๓๐ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๒ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๓ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๔ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๔ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๖ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๘ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๙ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๙ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๑๑ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๒ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๓ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๔ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๒ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๖ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๘ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๐ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๐ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๑๑ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๒ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๔ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๔ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๔ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๗ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๘ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๓๑ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๖ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๖ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๘ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๘ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๘ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙(๓)
- วันที่ ๙ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๑ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๕ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๖ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๒ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๓ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๔ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๔ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๒๕ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๗ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๗ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๒๘ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๘ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๓๐ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๓๐ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๓๑ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๒ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๓ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๔ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๕ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๕ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๖ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๗ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๗ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๙ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๐ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๕ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๕ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๒ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๙
วันที่ ๑๕ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
เพ็ชรบุรี
วันที่ ๑๕ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
เจ้าพระยายมราช
มาตามทางร้อนเต็มที ฝนตกเป็นช่องเป็นเหล่า บางตอนก็เปียกเป็นน้ำนอง บางตอนก็แห้งเป็นผง ฝนปีนี้เห็นจะไม่เอาการ เป็นด้วยลม มีเมฆตั้งมาลมเฉภาะมีแรงเท่าใด ก็พัดส่งไปตกที่สุดแรงลม ลมเหมือนกันไปทุกวันๆ ฝนจึงได้ตกซ้ำอยู่ในที่แห่งเดียวจนขังนอง ที่อื่นแห้งเป็นผง คั่นกันมาเช่นนี้ ๒ ตอน จึงถึงเพ็ชรบุรี ๆ นี้ถูกอยู่ในตอนแห้ง
งานที่ทำส่วนของเราด้านพระยาเพชรชฎาพระรัถยา ด้านพระยาวรพงษ์ทำงานดีน่ารักมาก เร็วเกินคาดเสียอีก สังเกตว่าทำได้เร็วกว่ากรุงเทพฯ เพราะเหตุที่ต้องถมดินไม่มาก แลเป็นด้วยชำนาญด้วย ให้การทีเดียวแล้ว
ส่วนงานถนนราชดำเนินนั้น มีความเสียใจเป็นอย่างยิ่ง ที่ดูช่างเป็นการใหญ่หนักหนา เทศาผู้ว่าราชการเมือง กรมการผู้ใหญ่ยืนออกสพรั่ง พอรถผ่านถนนไปแล้ว มีคนถือสามเกลอประมาณ ๓๐ คนกระทุ้งพรึบๆ ดูคึกคักมาก ที่รอยหนูแทะก็ถมเต็มแล้ว พระยาวรพงษ์ถมดินต่อ แต่เมื่อว่ารวบยอดก็คงยังเสียใจอยู่นั่นเอง เหตุด้วยถนนนี้ทั้งที่แก้แล้วยังจะเป็นอนุสาวรีของความโง่ให้คนข้างน่าทักเสมอ เว้นไว้แต่คนที่เป็นลูกศิษย์วัดจะไม่แลเห็น แลจะโจทย์กันด้วยว่าท่านแก้ของท่านว่าดีแล้ว เมื่อก่อนนี้สูงกว่านี้ แต่ที่แก้แล้วเดี๋ยวนี้ ยังชเง้อสูงอยู่กว่าข้างฟากวังสัก ๒ ศอก ดูเหมือนตัดลงไปสัก ๘ นิ้วฤๅ ๑๐ นิ้วเท่านั้น ไม่หมดความขายหน้า นึกขึ้นมาละให้ขุ่น ถ้าหากว่าจะตัดใหม่อีกครั้งหนึ่งก็เท่ากับทำ ๒ หน ถ้าไม่ตัดก็เป็นมอนิวเมนต์ ถ้าตัดใหม่อ้ายแรงที่เสียไปแล้วก็เสียเปล่า ถนนก็จะไม่ได้ใช้ในเวลานี้ ถ้าจะทำเวลาเสด็จไม่อยู่ไม่มีใครบัญชา ตั้งแต่พูดกันมากับใครๆ เห็นมีคนเข้าใจแต่กรมหลวงนเรศ แต่แกก็เกรงใจน่ากลัวงานจะไม่สำเร็จ จะขอเปลี่ยนชื่อถนนราชดำเนินให้เรียกถนนอนุสาวรี.
สยามินทร์
พลับพลาก่อฤกษ์ก็ดันลงไปปลูกในถนนวงกลม เลยทำไม่สำเร็จ เพราะพลับพลาเข้าไปขวางอยู่กลาง หมายว่าจะเอาไว้เป็นที่นั่งดูงานต่อไป เอาไว้ไม่ได้ต้องรื้อ.
จ.ป.ร.