- คำนำ
- ไว้อาลัย
- ไว้อาลัย (๒)
- ยมราชานุสสร
- ไว้อาลัย (๓)
- ไว้อาลัย (๔)
- All my recollections...
- เรื่องประวัติเจ้าพระยายมราช
- ร.ศ. ๑๒๔
- ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๑๔ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๓ กันยายน ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๑๑ กันยายน ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๑ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๖ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๒๓ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๙ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๑๐ มกราคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๑๒ มกราคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๓๑ มกราคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๑ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๒ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๓ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๕ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๒๕ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๒๕ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๕ (๒)
- ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๑๕ เมษายน ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๑๑ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๑ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๓ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๓ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๖ (๒)
- วันที่ ๒๔ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๙ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๑๒ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๖ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๑ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๔ กันยายน ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๔ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๔ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๖ (๒)
- วันที่ ๓ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๖ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๖ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๖(๒)
- วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ เดือน ร.ศ. ๑๒
- วันที่ ๖ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๖ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๖(๒)
- วันที่ ๑๒ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๑๕ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๓๐ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๓ มกราคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๔ มกราคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๑๐ มกราคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๒ มกราคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๖ มกราคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๒ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๘ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๙ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๖
- ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๖ เมษายน ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒๑ เมษายน ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒๔ เมษายน ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๖ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๖ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๗(๒)
- วันที่ ๗ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๗ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๗(๒)
- วันที่ ๘ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๑๐ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒๒ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒๒ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๗(๒)
- วันที่ ๒๒ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒๒ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๗(๒)
- วันที่ ๒๗ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๑๒ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๑๔ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๑ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๑๕ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๗(๒)
- วันที่ ๒๐ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒๑ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒๘ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒๙ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒๙ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๗(๒)
- วันที่ ๓๑ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๗(๒)
- วันที่ ๓ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๓ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๗(๒)
- วันที่ ๕ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ พฤศจิกายน ร.ศ.
- วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๔ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๖ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๑๘ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒ มกราคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๓ มกราคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๑๒ มกราคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒๓ มกราคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๑๒ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒๕ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๗
- ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑ เมษายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒ เมษายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๖ เมษายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๗ เมษายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๔ เมษายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๙ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๒ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๖ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๘ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๑ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๘ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๘ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๘ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๘(๒)
- วันที่ ๑ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘(๒)
- วันที่ ๓ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๖ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๑ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๔ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๘ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๑ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๓ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๓ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘(๒)
- วันที่ ๒๙ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๔ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๔ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๘(๒)
- วันที่ ๕ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๐ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๕ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๗ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๙ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๐ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๔ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๕ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๓ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๗ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๙ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๓ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๘(๒)
- วันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๖ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๙ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๐ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๕ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๘ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๘ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๘(๒)
- วันที่ ๒๙ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๘ มกราคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๙ มกราคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๙ มกราคม ร.ศ. ๑๒๘(๒)
- วันที่ ๒๑ มกราคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๘ มกราคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๗ กุมภาพันธ์ ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๕ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๕ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๘(๒)
- วันที่ ๒๔ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๕ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๘
- ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๕ เมษายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๗ เมษายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๘ เมษายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๓๐ เมษายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๘ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๐ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๑ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๓ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๔ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๘ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๓๐ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๒ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๓ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๔ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๔ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๖ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๘ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๙ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๙ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๑๑ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๒ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๓ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๔ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๒ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๖ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๘ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๐ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๐ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๑๑ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๒ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๔ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๔ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๔ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๗ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๘ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๓๑ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๖ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๖ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๘ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๘ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๘ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙(๓)
- วันที่ ๙ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๑ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๕ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๖ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๒ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๓ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๔ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๔ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๒๕ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๗ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๗ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๒๘ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๘ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๓๐ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๓๐ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๓๑ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๒ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๓ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๔ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๕ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๕ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๖ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๗ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๗ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๙ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๐ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๕ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๕ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๒ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๙
วันที่ ๒๒ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๗(๒)
สวนดุสิต
วันที่ ๒๒ มิถุนายน รัตนโกสินทรศก ๑๒๗
ถึง พระยาสุขุม
นายนิ่มนั้นเคยเรียกว่าสายนาฬิกาทอง เป็นคนจงรักภักดีมากอยู่ ข้อที่เกิดคุ้นเคยกันขึ้นนั้น เป็นผู้รักษาสพานถนนตก เดิมไปเที่ยวแกก็ไม่รู้จัก ได้พูดทักทายกัน แกเหนท่วงทีเข้าเค้าขุนนางแกก็ย่อๆ ไม่ช้าคนที่อยู่ที่นั่นรู้จัก ไปกระซิบแกเข้าอย่างไรแกก็เลยแป้นตั้งแต่นั้นมา เพราะได้เคยคุยกันเป็นอย่างคนๆ เสียก่อนจึงทำให้สนิทสนม แกเลยจงรักภักดีจนออกสงสาร ซึ่งจะพามาหานั้นดีแล้ว คิดจะให้เหรียญราชรุจิเสียอย่างเดียวกับนายบุตรเมืองนนท
หนังสือพิมพ์ที่ตัดมานั้นดีนัก ที่ไซ่ง่อนฝรั่งเศษก็คงร่มเช่นนี้นี่เอง
ขอเติมเรื่องอื่นอีกนิดหนึ่ง เรื่องที่ให้ไปไกล่เกลี่ยลูกหลานยายทรัพย์เรื่องแบ่งปันเงินค่าซื้อที่บ้านนั้น มีข้อรำคาญอยู่อีกนิดหนึ่ง ที่ยายทรัพย์มารดาสมเด็จพระพุฒาจาริย์คนนี้ เป็นอุบาสิกาเก่าแต่ครั้งทูลหม่อม๑ยังทรงพระผนวชอยู่ ทรงคุ้นเคยมา เพราะบ้านแกอยู่ใกล้ ครั้นเมื่อเสวยราชแล้ว กลายออกจะเป็นข้าหลวงเดิม แต่ที่แท้ไม่ได้เป็น ๆ คนเคยเฝ้าถวายของ เวลาเสด็จกฐินที่วัด และเฝ้าในวังปีหนึ่งสักครั้งหนึ่ง แต่ทรงทักทายปราไสยด้วยความคุ้นเคย เชื้ออันนั้นติดต่อมาเลยเป็นข้าหลวงเดิมกันกับแผ่นดินประจุบันนี้อีก ตลอดจนเวลาแกตาย เข้าใจว่าจะเผาจี่กันเสร็จแล้ว พึ่งจะรู้วันนี้เองว่า ยังไม่ได้เผา แลจะต้องย้ายศพจากที่บ้านซึ่งจะต้องรื้อให้เกิดความตขิดตขวงใจดูเป็นไม่ปรานีแก่ความดีของแก จะต้องให้ศพต้องรเหรหน ทำไมจะจัดการยุยงอย่างไรให้เผาเสียได้ ถ้าท่านพุฒาจาริย์แกเป็นคนๆ ก็ไม่ยากอะไร นี่แกเสร็จโสฬศกิจเสียแล้วเช่นนี้ การศพมันก็จะตกอยู่กับลูกแลหลาน ซึ่งจะชิงเงินกันนัวอยู่รายนี้ ที่ไหนจะมีใครคิดเผา นึกว่าถ้าได้เงินไปแล้วศพยายทรัพย์เห็นจะไม่ได้เผา จะเกี่ยงกันไม่มีใครออก มันน่าจะทาบทามดูในเรื่องศพนี้เสียด้วย จะมีท่วงทีอย่างไรซึ่งจะจัดการเผาศพเสียก่อนได้บ้าง ถ้าหากว่าพอจะจัดการเผาได้แล้ว เรือนที่ไว้ศพจะรอไว้ก่อนก็ได้ เพราะไม่ได้ถูกถนนรนแคมอันใด ขอให้คิดอ่านฟังลาดเลาให้สักหน่อย
สยามินทร์
-
๑. สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ↩