- คำนำ
- ไว้อาลัย
- ไว้อาลัย (๒)
- ยมราชานุสสร
- ไว้อาลัย (๓)
- ไว้อาลัย (๔)
- All my recollections...
- เรื่องประวัติเจ้าพระยายมราช
- ร.ศ. ๑๒๔
- ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๑๔ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๓ กันยายน ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๑๑ กันยายน ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๑ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๖ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๒๓ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๙ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๑๐ มกราคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๑๒ มกราคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๓๑ มกราคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๑ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๒ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๓ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๕ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๒๕ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๕
- วันที่ ๒๕ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๕ (๒)
- ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๑๕ เมษายน ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๑๑ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๑ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๓ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๓ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๖ (๒)
- วันที่ ๒๔ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๙ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๑๒ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๖ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๑ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๔ กันยายน ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๔ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๔ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๖ (๒)
- วันที่ ๓ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๖ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๖ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๖(๒)
- วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ เดือน ร.ศ. ๑๒
- วันที่ ๖ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๖ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๖(๒)
- วันที่ ๑๒ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๑๕ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๓๐ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๓ มกราคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๔ มกราคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๑๐ มกราคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๒ มกราคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๖ มกราคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๒ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๘ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๖
- วันที่ ๒๙ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๖
- ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๖ เมษายน ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒๑ เมษายน ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒๔ เมษายน ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๖ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๖ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๗(๒)
- วันที่ ๗ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๗ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๗(๒)
- วันที่ ๘ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๑๐ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒๒ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒๒ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๗(๒)
- วันที่ ๒๒ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒๒ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๗(๒)
- วันที่ ๒๗ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๑๒ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๑๔ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๑ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๑๕ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๗(๒)
- วันที่ ๒๐ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒๑ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒๘ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒๙ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒๙ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๗(๒)
- วันที่ ๓๑ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๗(๒)
- วันที่ ๓ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๓ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๗(๒)
- วันที่ ๕ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ พฤศจิกายน ร.ศ.
- วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๔ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๖ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๑๘ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒ มกราคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๓ มกราคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๑๒ มกราคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒๓ มกราคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๑๒ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๗
- วันที่ ๒๕ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๗
- ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑ เมษายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒ เมษายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๖ เมษายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๗ เมษายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๔ เมษายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๙ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๒ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๖ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๘ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๑ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๘ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๘ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๘ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๘(๒)
- วันที่ ๑ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘(๒)
- วันที่ ๓ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๖ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๑ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๔ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๘ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๑ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๓ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๓ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘(๒)
- วันที่ ๒๙ กันยายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๔ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๔ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๘(๒)
- วันที่ ๕ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๐ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๕ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๗ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๙ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๐ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๔ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๕ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๓ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๗ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๙ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๓ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๘(๒)
- วันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๖ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๙ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๐ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๕ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๘ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๘ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๘(๒)
- วันที่ ๒๙ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๘ มกราคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๙ มกราคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๙ มกราคม ร.ศ. ๑๒๘(๒)
- วันที่ ๒๑ มกราคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๘ มกราคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๗ กุมภาพันธ์ ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๕ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๕ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๘(๒)
- วันที่ ๒๔ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๘
- วันที่ ๒๕ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๘
- ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๕ เมษายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๗ เมษายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๘ เมษายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๓๐ เมษายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๘ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๐ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๑ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๓ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๔ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๘ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๓๐ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๒ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๓ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๔ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๔ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๖ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๘ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๙ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๙ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๑๑ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๒ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๓ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๔ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๒ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๖ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๘ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๐ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๐ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๑๑ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๒ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๔ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๔ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๔ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๗ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๘ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๓๑ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๖ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๖ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๘ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๘ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๘ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙(๓)
- วันที่ ๙ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๑ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๕ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๖ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๒ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๓ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๔ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๔ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๒๕ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๗ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๗ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๒๘ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๘ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๓๐ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๓๐ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๓๑ สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๒ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๓ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๔ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๕ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๕ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๖ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๗ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๗ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙(๒)
- วันที่ ๙ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๐ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๕ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๒๕ กันยายน ร.ศ. ๑๒๙
- วันที่ ๑๒ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๙
วันที่ ๘ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๘
สวนดุสิต
วันที่ ๘ กรกฎาคม รัตนโกสินทรศก ๑๒๘
เจ้าพระยายมราช
ได้รับหนังสือวันนี้ว่าด้วยการที่จะต้องจัดต่อไปในศุขาภิบาลแสดงความวิตกวิจารอยู่บ้างนั้น ได้ทราบความคิดตลอด
การทั้งปวงเหล่านี้ ที่เป็นสำคัญจะแก้ความจงชิงจงชังเฉภาะบุคคลได้ มันมีอยู่ ๒ ทาง คือ
๑. ต้องพยายามให้คนไทยเข้าใจ เข้าใจธรรมอันหนึ่งซึ่งเรียก คอมมอนอินเตอรเรส คือประโยชน์เพื่อจะมีทั่วถึงกันไป เป็นการอาไศรยกันและกัน ลงแรงกันคนละน้อยแต่ทำการใหญ่ ซึ่งถ้าสำเร็จลงอาจจะเป็นประโยชน์ได้ทั่วกันมากๆ ซึ่งคนๆ เดียวฤๅ ๔-๕ คนจะทำสำเร็จไม่ได้ ผู้ซึ่งมิได้เกี่ยวข้องอุดหนุนในการที่ทำนั้นเลย มารับประโยชน์เปล่าๆ ย่อมไม่เป็นธรรม ถึงว่าไม่เป็นโจรก็เป็นอันถือประโยชน์ของผู้อื่นเอาเป็นประโยชน์ตนโดยไม่ชอบธรรม
การที่พาให้ใจไทยไม่เข้าใจก็ด้วยประเพณีเรื่องทำทานเอาบุญ ฤๅเอาคำเยินยอ แลด้วยความตระหนี่ของผู้ที่จะต้องให้ แกล้งทำไม่เข้าใจไม่รู้เสีย ถึงจะรู้แต่ได้เปล่าก็ยังดีเช่นนี้ เป็นต้น จึงไม่เข้าใจคอมมอนอินเตอรเรสเสียเลย การศุขาภิบาลทั่วไปเป็นการคอมมอนอินเตอรเรสแท้ กรมศุขาภิบาลเป็นแต่เถ้าแก๋จัดการให้เป็นศุขสำราญแก่ราษฎรในเขตรอันหนึ่ง ซึ่งได้กำหนดไว้ว่าจะจัดการ แลเป็นผู้เรี่ยรายประโยชน์จากคนที่ได้อาไศรยในท้องที่นั้นมาทำงานให้เป็นประโยชน์ทั่วกัน
ถ้าหากว่าเพาะให้คนไทยเข้าใจโดยหนังสือพิมพ์ ซึ่งพอใจจะอ่านอยู่เนืองๆ ให้ค่อยรู้ซึมทราบ ธรรมดาคนพวกนี้ต่างคนต่างอยากจะมีปัญญา แต่มันไม่มีความรู้ ถ้าค่อยๆขยายความรู้ให้เขาเข้าใจขึ้นแต่อย่าไปสอน เพราะธรรมดาคนไทยเป็นแมวยิ่งเรียกยิ่งเดินหนี ถ้าคลุกเข้าทิ้งไว้คงจะมากินเองฉันใด ถ้อยคำอันใดที่จะเพาะต้องให้เขาลืมๆ นึกไปว่าตรัสรู้ขึ้นมาเอง ถ้าเช่นนั้นแล้วคุยคอโก่ง ถึงใจจะนึกอย่างหนึ่งปากคงยังต้องพูดตามทางที่ถูก ด้วยหาไม่จะไม่เป็นคนมีปัญญา เพราะฉนั้นจึงเห็นว่าการแต่งถ้อยคำลงพิมพ์เป็นกำลังสำคัญของทุกๆ ประเทศที่จะช่วยนำคนมาก ๆ ให้คิดถูก ฝ่ายเมืองไทยเราไม่ต้องพูดถึงการแผ่นดินแผ่นทราย แต่เพียงการศุขาภิบาลเท่านี้ เชื่อว่าจะเป็นประโยชน์มากจริง ๆ ถ้าไม่มีการงานมากอยากจะรับจ้างเจ้าพระยายมราช แต่งอาร์ติเคอลลงหนังสือพิมพ์ให้เนือง ๆ ไป เชื่อว่าจะสำเร็จได้เป็นแน่ ความมุ่งร้ายหมายเกลียดเฉภาะตัวจะทุเลาลงเป็นอันมาก
อีกอย่างหนึ่งซึ่งเป็นทางที่จะแก้ไขได้ แต่มันหมิ่นเหม่อยู่กับเมืองเราอยู่สักนิด ด้วยธรรมดาการศุขภิบาลประเทศอื่นๆ เขาเลือกเอาผู้ที่จะต้องเสียเงินมากมากเข้ามาเป็นที่ปฤกษา ให้ได้ช่องแสดงความเห็นในการที่จะใช้เงินนั้นด้วย เมื่อเข้ามาประชุมพูดกันเช่นนั้น ความเห็นทั้งฝ่ายดีฝ่ายชอบคงเป็นผู้ข้างชะนะ ผู้ที่เห็นเชือนๆ คงมาเผยอปากไม่ขึ้นฤๅแพ้ไป ที่เขาอุกฤษจริงถึงไม่เกี่ยวแก่รัฐบาล แต่เมืองเราทำไม่ได้ถึงเช่นนั้น เหตุด้วยผู้ที่จะมาประชุมไม่มีความรู้ฤๅความคิด ถ้าถือเอาคำโว๊ตของพวกนั้น ก็จะเป็นปาลิเมนต์เมืองเปอรเซียไปนั้นอย่างหนึ่ง อีกอย่างหนึ่งคนไทยเราย่อมมีทุนรอนน้อย ผู้ที่มีทุนรอนมากเป็นคนต่างประเทศที่สุดก็จนเจ๊ก ถ้าถือเอาแบบประเทศอื่น ที่ปฤกษาในศุขาภิบาลน่าจะเป็นต่างประเทศทั้งนั้น แต่เพียงนั้นก็ไม่พอเป็นไร เพราะรัฐบาลอาจตั้งที่ปฤกษาไปเท่าใดๆ ให้โว๊ตคนต่างประเทศล่มเสมอก็ได้ เว้นแต่มันมีขัดข้องสำคัญ ที่รัฐบาลจะเลือกเอาใครที่มีความรู้พอไปโต้ฝรั่งเขาได้ ไปๆ มาๆ ก็จะไปพลอยพยักตามฝรั่งเท่านั้น การศุขาภิบาลของเราก็จะกลายเป็นอยู่ในมือฝรั่งอย่างเช่นเมืองเซี่ยงไฮ้ ข้อสำคัญขัดข้องมันมีอยู่เช่นนี้ จึงเห็นว่าเราควรจะเดินอย่างไร ให้ได้กำลังที่ปฤกษาหารืออย่างนี้ สำหรับกันปากเสียง แต่อย่าให้มีอำนาจมากลบลบเจ้าพนักงาน ให้เจ้าพนักงานมีอำนาจเต็มจัดการเป็นงานของรัฐบาล แต่อาไศรยความรู้ความเห็นของพ่อค้านายห้างผู้ใหญ่เป็นทางความคิด ที่มันจะไปทางข้างพ่อค้าที่ปฤกษาซึ่งมีอยู่ในหัวเมือง อันเจ้าพระยายมราชก็จะเคยมีมาแล้ว ขอให้ตฤกตรองดูในทางนั้น ความเห็นที่จะแก้กันคนถือเอาตัวเจ้าพระยายมราชเป็นเป้าสำหรับยิงมีอยู่ ๒ ทางดังที่ว่ามานี้.
สยามินทร์