- คำนำ
- พระราชนิพนธ์คำนำ
- นมัสกฤติกถา
- อารัมภกถา
- นิทานวัจนะ
- นโลปาข๎ยานัม์
- สรรคที่ ๑
- สรรคที่ ๒
- สรรคที่ ๓
- สรรคที่ ๔
- สรรคที่ ๕
- สรรคที่ ๖
- สรรคที่ ๗
- สรรคที่ ๘
- สรรคที่ ๙
- สรรคที่ ๑๐
- สรรคที่ ๑๑
- สรรคที่ ๑๒
- สรรคที่ ๑๓
- สรรคที่ ๑๔
- สรรคที่ ๑๕
- สรรคที่ ๑๖
- สรรคที่ ๑๗
- สรรคที่ ๑๘
- สรรคที่ ๑๙
- สรรคที่ ๒๐
- สรรคที่ ๒๑
- สรรคที่ ๒๒
- สรรคที่ ๒๓
- สรรคที่ ๒๔
- สรรคที่ ๒๕
- สรรคที่ ๒๖
- อุตตรกถา
- อธิบายในลักษณประพนธ์
- อภิธาน
โอ
โอม, ส. = เปนคำสำคัญ ซึ่งใช้ใด้ทั้งในที่เริ่มและที่สุดแห่งมนตร์ ฯ ไม่ปรากฎว่าแรกเริ่มเดิมทีนั้นเพื่อเหตุใด จึงเกิดใช้คำว่าโอมนี้ขึ้น คงได้ความแต่ว่าเปนอักษรที่นับถือมาแต่เก่าแก่ คือตั้งแต่ยุคไตรเพท และนิยมกันว่า คำโอมนี้ ประกอบด้วยสำเนียงสาม คือ “อะ,” “อุ,” “ม,” ฯ ต่อมาเมื่อยุคปุราณะเกิดนับถือพระเปนเจ้าทั้ง ๓ ขึ้น แล้วพราหมณ์จึ่งสมมตขึ้นว่า “อ” = พระวิษณุ “อุ” = พระศีวะ “ม” = พระพรหม คำว่า “โองการ” กล่าวคำ “โอม,” แต่ต่อ ๆ มาเอามาใช้แปลว่าคำสั่งของขุนหลวง เห็นจะมุ่งว่าตรัสเปนมงคลอย่างยิ่ง ฯ