- คำนำ
- พระราชนิพนธ์คำนำ
- นมัสกฤติกถา
- อารัมภกถา
- นิทานวัจนะ
- นโลปาข๎ยานัม์
- สรรคที่ ๑
- สรรคที่ ๒
- สรรคที่ ๓
- สรรคที่ ๔
- สรรคที่ ๕
- สรรคที่ ๖
- สรรคที่ ๗
- สรรคที่ ๘
- สรรคที่ ๙
- สรรคที่ ๑๐
- สรรคที่ ๑๑
- สรรคที่ ๑๒
- สรรคที่ ๑๓
- สรรคที่ ๑๔
- สรรคที่ ๑๕
- สรรคที่ ๑๖
- สรรคที่ ๑๗
- สรรคที่ ๑๘
- สรรคที่ ๑๙
- สรรคที่ ๒๐
- สรรคที่ ๒๑
- สรรคที่ ๒๒
- สรรคที่ ๒๓
- สรรคที่ ๒๔
- สรรคที่ ๒๕
- สรรคที่ ๒๖
- อุตตรกถา
- อธิบายในลักษณประพนธ์
- อภิธาน
ด
ดนัย [ส. ตนย] = ลูกชาย
ดไนยา [ส. ตนยา] = ลูกสาว
ดนู [ส. ตนุ] = ตัว ฯ ใช้ในจินตกะวีนิพนธ์แทนคำว่า “ฉัน” ฤๅ “ข้าพเจ้า”
ดล, ส. ผ. = (๑) ทำให้แล้ว, ตั้งขึ้น (เช่น “ดลใจ”) (๒) ถึงที่
ดัสกร [ส. ตัส๎กร] = ผู้ร้าย, ขะโมย ฯ ที่ไทยเราเอามาใช้แปลว่า “ข้าศึก” นั้น เห็นจะเรียกเปนเชิงด่า คือว่าเปนคนเลวเหมือนอ้ายขะโมย ฯ ม. ว่าทำให้สดุ้ง, ทำให้หวาดหวั่น
ดาบส, [ส. ตาปส] = ผู้บำเพ็ญในการเผากิเลส (ดูที่ ตะบะ) ฯ
ดุษณี [ส. ต๎ฤษ๎ณิ, ม. ตุณ๎หิ] = การนิ่งอยู่ ไม่พูด ฯ
แด, ท. = ใจ ฯ “แดยัน” = อัดใจ
ดำนาน ฤๅ ตำนาน = เรื่องแสดงกิจการอันมีมาแล้วแต่ปางหลัง ฯ