- คำนำ
- พระราชนิพนธ์คำนำ
- นมัสกฤติกถา
- อารัมภกถา
- นิทานวัจนะ
- นโลปาข๎ยานัม์
- สรรคที่ ๑
- สรรคที่ ๒
- สรรคที่ ๓
- สรรคที่ ๔
- สรรคที่ ๕
- สรรคที่ ๖
- สรรคที่ ๗
- สรรคที่ ๘
- สรรคที่ ๙
- สรรคที่ ๑๐
- สรรคที่ ๑๑
- สรรคที่ ๑๒
- สรรคที่ ๑๓
- สรรคที่ ๑๔
- สรรคที่ ๑๕
- สรรคที่ ๑๖
- สรรคที่ ๑๗
- สรรคที่ ๑๘
- สรรคที่ ๑๙
- สรรคที่ ๒๐
- สรรคที่ ๒๑
- สรรคที่ ๒๒
- สรรคที่ ๒๓
- สรรคที่ ๒๔
- สรรคที่ ๒๕
- สรรคที่ ๒๖
- อุตตรกถา
- อธิบายในลักษณประพนธ์
- อภิธาน
ค
คเณศร, ส. ผ. [ส. คเณศ๎วร, ฤๅ คเณศ] = “ผู้เปนใหญ่ในคณะ” ฯ ข้างไสยศาสตร์นิยมว่าเปนเจ้าแห่งความรอบรู้ (สิทธิ) จึ่งเรียกว่า “สิทธิบดี” [ส. สิท์ธิปติ], ว่าเปนใหญ่เหนือความขัดข้องทั้งปวง (วิฆ๎น) จึ่งเรียกว่า “วิฆเนศร” [ส. วิฆ๎เนศ๎วร], เปนหัวน่านำคณข้ามความขัดข้อง เหมือนโคผู้นำฝูงโค จึ่งเรียกว่า “คณปุํคว” ฯ ตามตำหรับว่าเปนโอรสพระอิศวรกับพระอุมา ฤๅอีกนัย ๑ ว่าเปนโอรสพระอุมาองค์เดียว มีหัวเปนช้างงาเดียว สีกายแดง นุ่งห่มแดง ถือบาศและขอ มีหนูเปนพาหน ฯ บรรดาผู้ที่จะเริ่มกิจใด ๆ ฤๅเริ่มประพนธ์ มักเริ่มด้วยมนตร์ว่า “นโม คเณศาย วิฆ๎เนศ๎วราย” ฯ
คุรุ, ส. = (๑) หนัก เช่น คุรุทัณฑ์ = โทษหนักเปนต้น (๒) ยาว เช่น คุรุ ใน ฉันท์คือคำเสียงยาว (๓) สำคัญ (๔) เปนที่นับถือ (๕) ผู้สอนวิทยาฤๅศาสนา (ไทยมาแผลงเปน “ครู”)
คฤห [ส. ค๎ฤห, ม. คห] = เรือน, บ้าน, ตำหนัก.