(คำที่ใช้ “ห” นำ) ของมหาฉ่ำถวาย

คำที่ใช้ “ห” นำ ซึ่งมีอยู่ในศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหง ม.ศ. ๑๒๑๔ (พ.ศ. ๑๘๓๕) คือ

ใหญ่ หมากม่วง
หนำ หมากขาม
หนี หมากพร๋าว
เหนือ หมากลาง
หนงง หล๋า
หมอน หลาย
หมาก เหล๋น
หมากส๋ม หลวกก (รู้หลัก)
หมากหวาน หล๋วง
หลวง หว่างกลาง
ไหว๋ หวาน

คำที่ใช้ “ห” นำ ซึ่งมีอยู่ในศิลาจารึกเมืองสุโขทัย ว่าด้วยกฎหมายลักษณะโจร ราว ม.ศ. ๑๒๖๖ (พ.ศ. ๑๘๘๗)

ใหญ่ ใหม
หน๋า หลาก
หนี๋ หลาย

คำที่ใช้ “ห” นำ ซึ่งมีอยู่ในศิลาจารึกวัดศรีชุม ศักราชไม่ปรากฏ

ใหญ่ หมาก
หนอ ใหม่
หนาผาก เหมิน
หนี หมอน
เหนือ หลัง
หนกกหนา เหลือง
หม๋อ หลวง
หมา หลาน
หมี หลาย
หมู ไหว
หมู่  

คำที่ใช้ “ห” นำซึ่งมีอยู่ในศิลาจารึกได้มาจากนครชุม ม.ศ. ๑๒๗๙ (พ.ศ. ๑๙๐๐)

หนำ เหมิน
เหนือ เหมิอง
เหนบ หลาน
หมาก หลาย
หมากพร๋าว หลวกก
หมากลาง ไหว๋

คำที่ใช้ “ห” นำซึ่งมีอยู่อยู่ในศิลาจารึก วัดป่ามะม่วง ม.ศ. ๑๒๘๓ (พ.ศ. ๑๙๐๔)

หนา (หน้า) หมอน
หนี เหมา (ปีกดดเหมา)
หมาก หลาย
เหมิน  

คำที่ใช้ “ห” นำซึ่งมีอยู่ในศิลาจารึกเขาสุมนกูฎ ม.ศ. ๑๒๘๑ (พ.ศ. ๑๙๐๒)

หนกกหนา หลํ (ล่ม)
หมาก หวาย
หลาย ไหว (ไหว้)
เหลน (เล่น)  

คำที่ใช้ “ห” นำซึ่งมีอยู่ในศิลาจารึกได้มาจากเขากบ ศักราชไม่ปรากฎ

หนกกหนา หลาน
เหนิอ หลาย
หมนหมอง เหลน

คำหี่ใช้ “ห” นำซึ่งมีอยู่ในศิลาจารึกได้มาจากสุโขทัย จ.ศ. ๗๖๖ (พ.ศ. ๑๙๔๗)

หลาน เหมิน
หลาย ใหม (เชียงใหม่)

คำที่ใช้ “ห” นำซึ่งมีอยู่ในศิลาจารึกวัดเขมา ม.ศ. ๑๔๕๘ (พ.ศ. ๒๐๗๙)

หนา (หน้า) หมัน (มั่น)
สาสหน้า (ศาสนา) เจาหมีน
พิสหนูกัรรม หลาย
หมาก เหลิอง

แชร์ชวนกันอ่าน

แจ้งคำสะกดผิดและข้อผิดพลาด หรือคำแนะนำต่างๆ ได้ ที่นี่ค่ะ