- คำนำ
- ประวัติ ว่าที่นายพันโท หลวงไกรกรีธา
- ความรัก
- ความชัง
- ความเชื่อแน่
- ความสงไสย
- ความตระหนี่
- ความสุรุ่ยสุร่าย
- ความหมั่น
- ความเกียจคร้าน
- ความอ่อน
- ความแขง
- ความอิจฉา
- มุทิตา
- ความช้า
- ความเร็ว
- ความเสื่อม
- ความเจริญ
- ความมั่งมี
- ความจน
- ความผิด
- ความชอบ
- ความโลภ
- ความสันโดฐ
- ความนินทา
- ความสรเสริญ
- ความกระวนกระวาย
- ความอดกลั้น
- ความเบื่อ
- ความเพลิน
- ความลำเอียง
- ความเที่ยงตรง
- ความหยิ่ง
- ความสุภาพ
- ใจร้าย
- ใจดี
- ความโง่
- ความฉลาด
- ความเท็จ
- ความจริง
- ความทุจริต
- ความสุจริต
- ความหวังใจ
- ความท้อใจ
- ความเลินเล่อ
- ความระวังคือไม่ประมาท
- ความนับถือ
- ความดูหมิ่น
- ความทุกข์
- ความศุข
- ความกล้า
- ความขลาด
ความระวังคือไม่ประมาท
๑๏ ความระวังโดยรอบนั้น | คุณหลาย เหลือแฮ |
พระสุคตไขธรรมขยาย | อย่างนี้ |
ไม่ประมาทไม่ตาย | ณพ่อ |
เปนยอดธรรมปวงชี้ | ช่องไว้หวังเห็น |
๒๏ แม้จักจำแนกข้อ | คุณระวัง วิถารแล |
หลายสิบโคลงคงยัง | หย่อนถ้อย |
ความมากหากจะฟัง | เฝือโสตร |
จึ่งตัดกล่าวแต่น้อย | สรูปบั้นแบ่งสาม |
๓๏ ระวังตัวอย่ากลั้วอะ | กุศลกรรม |
ระวังโอษฐ์อย่าออกคำ | ชั่วช้า |
ระวังจิตรอย่าคิดทำ | ทางชั่ว |
สามช่องใช้สติร้า | ชั่วร้ายมลายไกล |
๔๏ ความระวังที่ตั้งเกิด | แต่สติ เดียวแฮ |
ดีชั่วยังสติตริ | ตรนักแล้ว |
สิ่งชั่วงดดีริ | รังก่อ กรรมเทอญ |
จักส่างสรรพโทษแผ้ว | ผ่องได้ความดี |
๕๏ ธรรมนี้กล่าวเท่านี้ | พอควร |
เพราะสมาชิกมวญ | ย่อมแจ้ง |
แต่งย่อแต่พอกวน | เกาสติ ระวังพ่อ |
ฉุกประมาทจะแอ้งแม้ง | หมดแก้กายคืน |
สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระนริศรานุวัดติวงษ์