- ทางพิจารณาหาตัวผู้เขียนจดหมาย
- คำนำเรื่องซึ่งมีในจดหมายความทรงจำ
- คำบรรยายความเห็่นแลความคิดที่จะเรียบเรียงหนังสือนี้
- จดหมายเหตุ ตั้งแต่กรุงเก่าเสียแล้ว เจ้าตากมาตั้งเมืองธนบูรี
- ๑ - ๑๓๐
- ๑๓๑ - ๒๒๔
- ๒๒๕ - ๒๕๖
- อักษร (ก)
- ๑ พระราชสาส์นกรุงศรีสัตนาคนหุต มีมายังกรุงธนบุรี
- ๒ พระราชสาส์นกรุงธนบุรึ ถึง กรุงศรีสัตนาคนหุต
- ๓ ศุภอักษร เสนาบดีกรุงศรีสัตนาคนหุตกำกับพระราชสาส์น
- ๔ ศุภอักษรเสนาบดีกรุงธนบุรีกำกับพระราชสาส์น
- ๕ ศุภอักษรเสนาบดีกรุงธนบุรีรับรับสั่ง มีไปถึงเสนาบดีกรุงล้านช้าง
- ๖ พระราชสาส์นศรีสัตนาคนหุต
- ๗ พระราชสาส์นกรุงธนบุรีมีตอบไป
- ๘ ศุภอักษรเสนาบดีกรุงศรีสัตนาคนหุตกำกับพระราชสาส์น
- ๙ ศุภอักษรเสนาบดีกรุงธนบุรี กำกับพระราชสาส์นมีไปกรุงล้านช้าง
- ๑๐ ศุภอักษรพญาหลวงเมืองแสน อรรคมหาเสนาเมืองล้านช้าง ที่ส่งตัวขึ้นไปจากกรุงธน
- ๑๑ สมณสาส์นมาแต่กรุงศรีสัตนาคนหุต
- ๑๒ คำแปลสมณสาส์น
- ๑๓ สมณสาส์นพระสังฆราชกรุงธนบุรีมีตอบไป
- ศุภอักษรครั้งแผ่นดินเจ้ากรุงธนบุรีตอบไปกรุงศรีสัตนาคนหุต
- อักษร (ข) หมวดแรก พระราชสาส์น รัชกาลที่ ๑ มีไปมากับเมืองญวน
- อักษร (ข) หมวดที่ ๒
- อักษร (ข) หมวดที่ ๓
- อักษร (ข) หมวดที่ ๔ พระราชสาส์นรัชกาลที่ ๒ มีไปเมืองญวน
- (๑) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา ปราบดาภิเศกใหม่
- (๒) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๓) หนังสือ เจ้าพระยาพระคลังผู้ใหญ่ณกรุงเทพมหานครศรีอยุทธยา
- (๔) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๕) พระราชปฏิสัณฐาน
- (๖) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๗) พระราชสาส์น เจ้ากรุงเวียดนาม
- (๘) พระราชสาส์น พระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๙) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๑๐) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๑๑) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๑๒) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๑๓) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๑๔) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๑๕) พระราชสาส์นกรุงเวียดนาม
- (๑๖) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๑๗) พระราชสาส์นพระมเหษี พระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๑๘) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๑๙) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๒๐) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๒๑) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๒๒) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๒๓) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๒๔) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๒๕) หนังสือท่านเจ้าพระยาพระคลังผู้ใหญ่ณกรุงพระมหานครศรีอยุทธยาฯ
- (๒๖ เห็นจะเปนร่างครั้งแรก) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๒๗ เห็นจะเปบฉบับที่แก้แล้วมีไป)
- (๒๘) หนังสือท่านเจ้าพระยาพระคลังผู้ใหญ่ ณะกรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๒๙) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงศรีอยุทธยา
- (๓๐) พระราชสาส์นพระเจ้ามินมาง
- (๓๑) พระราชสาส์นเจ้ากรุงเวียดนาม
- อักษร (ค) จาฤกแผ่นสิลา ว่าด้วยพระบรมธาตุมาแต่เมืองน่าน
- อักษร (ฆ) เรื่องนิพานวังน่า
(๒๙) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงศรีอยุทธยา
วัน ๑ ๖ฯ ๘ ค่ำ จุลศักราช ๑๑๗๘ ปีชวดอัฐศกเพลาเช้า
$\left. \begin{array}{}\mbox{พระยากลาโหม} \\[1.4ex]{พระยาทิพโกษา} \\[1.4ex]\mbox{พระยาไกรโกษา} \\[1.4ex]\mbox{พระยาโชฎึก} \\[1.4ex]\mbox{พระยาศรีกระวีราช} \\[1.4ex]\end{array} \right\}$ นั่งพร้อมกันณหอพระมณเฑียรธรรม
นายชำนิโวหารจาฤกพระราชสาส์นไปกรุงเวียดนาม
(๒๙) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงศรีอยุทธยา จำเริญไมตรีมาถึงสมเด็จพระเจ้ากรุงเวียดนามให้ทราบ ด้วยณวัน ๑๒ฯ ๓ ค่ำ ปีกุนสัพศก พระเจ้ากรุงเวียดนามมีพระราชสาส์นแต่งให้ทูตานุทูตเข้าไปถามข่าวกรุงพระมหานครศรีอยุทธยา แลพระอนุชาธิราชฝ่ายน่า ก็ได้มีพระราชสาส์นตอบให้ทูตกลับออกมาแล้ว ๆ ให้เจ้าพระยาพระคลัง มีหนังสือจดหมายเรื่องความฝ่ายพม่าแลเมืองเขมรซึ่งเปนธุระกรุงพระมหานครศรีอยุทธยาอยู่นั้นออกมาแจ้งก่อน จะแต่งให้ทูตออกมาต่อภายหลัง บัดนกรุงพระมหานครศรีอยุทธยากับพระอนุชาชิราชฝ่ายน่าว่างการซึ่งจัดแจงครัวมอญลง จึงมีพระราชสาส์นแต่ง
$\left. \begin{array}{}\mbox{แพรมังกรเล่นน้ำลายทอง} & \mbox{๔ ม้วน}\\[1.4ex]\mbox{แพรหงอนไก่สีต่างกัน} & \mbox{๑๐ พับ}\\[1.4ex]\mbox{โหมดเมืองบน} & \mbox{๑๕ ม้วน}\\[1.4ex]\mbox{ผ้าขาว} & \mbox{๔๐ พับ}\\[1.4ex]\mbox{ผ้าแดงอาต่าน} & \mbox{๖๐ พับ}\\[1.4ex]\mbox{พรม} \left. \begin{array}{}\mbox{ใหญ่ } \\[1.4ex]\mbox{เล็ก }\\[1.4ex]\end{array} \right\}&\mbox{๑๐ ผืน}\\[1.4ex]\mbox{เสื่ออ่อนสองชั้น} & \mbox{๖๐ ผืน}\\[1.4ex]\mbox{น้ำมันจันทน์หนัก} & \begin{array}{c}\\\begin{array}{c|c} \quad&\quad\\\hline \quad&๑๐\\\end{array} ชั่งจีน\end{array} \\[1.4ex]\mbox{ภิมเสนหนัก} & \begin{array}{c}\\\begin{array}{c|c} \quad&\quad\\\hline \quad&๒\\\end{array}\end{array} \\[1.4ex]\mbox{ดิบุกหนัก} & \begin{array}{c}\\\begin{array}{c|c} \quad&๔๕\\\hline \quad&\quad\\\end{array}\end{array} \\[1.4ex]\end{array} \right\}$ (พระราชวังหลวง)
$\left. \begin{array}{}\mbox{แพรมังกรเล่นน้ำลายทอง} & \mbox{๒ ม้วน}\\[1.4ex]\mbox{แพรหงอนไก่สีต่างกัน} & \mbox{๔ พับ}\\[1.4ex]\mbox{โหมดเมืองบน} & \mbox{๘ พับ}\\[1.4ex]\mbox{ผ้าขาว} & \mbox{๓๕ พับ}\\[1.4ex]\mbox{พรม} \left. \begin{array}{}\mbox{ใหญ่ } \\[1.4ex]\mbox{เล็ก }\\[1.4ex]\end{array} \right\}&\mbox{๕ ผืน}\\[1.4ex]\mbox{เสื่ออ่อน ๒ ชั้น} & \mbox{๔๐ ผืน}\\[1.4ex]\mbox{น้ำมันจันทน์หนัก} & \begin{array}{c}\\\begin{array}{c|c} \quad&\quad\\\hline \quad&๕\\\end{array} ชั่งจีน\end{array} \\[1.4ex]\mbox{ภิมเสนหนัก} & \begin{array}{c}\\\begin{array}{c|c} \quad&\quad\\\hline \quad&๑\\\end{array}\end{array} \\[1.4ex]\mbox{ดิบุกหนัก} & \begin{array}{c}\\\begin{array}{c|c} \quad&๒๓\\\hline \quad&\quad\\\end{array}\end{array} \\[1.4ex]\end{array} \right\}$ (พระราชวังบวร)
ให้ $\left. \begin{array}{}\mbox{พระทอง สื่อราชทูต}\\[1.4ex]\mbox{หลวงจ่าเนตรอุปทูต}\\[1.4ex]\mbox{ขุนสุนทรภักดีตรีทูต}\\[1.4ex]\left. \begin{array}{}\mbox{ขุนราชภักดี}\\[1.4ex]\mbox{ขุนบำภาษา}\\[1.4ex]\end{array} \right\}\mbox{ล่าม} \\[1.4ex]\end{array} \right\}$ คุมมายังพระเจ้ากรุงเวียดนามโดยทางพระราชไมตรีกับจะใคร่ฟังความซึ่งกรุงเวียดนามให้ชำระพวกพนมเปญยกเข้าไปตีเมืองปัตบองนั้นด้วย อนึ่งเมืองอังวะแต่งให้ขุนนางถือหนังสือมาถึงขุนนางกรุงเวียดนาม แต่ให้จีนพามาทางเรือ จีนคิดกันฆ่าพม่าเสีย $\left. \begin{array}{}\mbox{นาย ๑} \\[1.4ex]\mbox{ไพร่ ๘}\\[1.4ex]\end{array} \right\}$ ๙ คน ยังเหลือพม่าอยู่$\left. \begin{array}{}\mbox{นาย ๑} \\[1.4ex]\mbox{ไพร่ ๔}\\[1.4ex]\end{array} \right\}$ จีนจับมัดเข้ามาส่งพระยาถลาง กับหนังสือพม่าใส่กล่องงาถุงกำมะหยี่ปิดตราประจำผูกเปนรูปหงษ ความแจ้งอยู่ในสำเนาที่แปลนั้นแล้ว แต่กรุงพระมหานครศรีอยุทธยากับกรุงเวียดนามรักใคร่สนิทกันรู้ความจะนิ่งไว้ก็ผิดประเพณี ไม่ควรที่สองพระนครเปนทางไมตรกันจึ่งแจ้งความมายังพระเจ้ากรุงเวียดนาม
พระราชสาส์นมาณวัน ๒ ๖ฯ ๘ ค่ำ ศักราช ๑๑๗๘ ปีชวดอัฐศก ๚ะ๛