- ทางพิจารณาหาตัวผู้เขียนจดหมาย
- คำนำเรื่องซึ่งมีในจดหมายความทรงจำ
- คำบรรยายความเห็่นแลความคิดที่จะเรียบเรียงหนังสือนี้
- จดหมายเหตุ ตั้งแต่กรุงเก่าเสียแล้ว เจ้าตากมาตั้งเมืองธนบูรี
- ๑ - ๑๓๐
- ๑๓๑ - ๒๒๔
- ๒๒๕ - ๒๕๖
- อักษร (ก)
- ๑ พระราชสาส์นกรุงศรีสัตนาคนหุต มีมายังกรุงธนบุรี
- ๒ พระราชสาส์นกรุงธนบุรึ ถึง กรุงศรีสัตนาคนหุต
- ๓ ศุภอักษร เสนาบดีกรุงศรีสัตนาคนหุตกำกับพระราชสาส์น
- ๔ ศุภอักษรเสนาบดีกรุงธนบุรีกำกับพระราชสาส์น
- ๕ ศุภอักษรเสนาบดีกรุงธนบุรีรับรับสั่ง มีไปถึงเสนาบดีกรุงล้านช้าง
- ๖ พระราชสาส์นศรีสัตนาคนหุต
- ๗ พระราชสาส์นกรุงธนบุรีมีตอบไป
- ๘ ศุภอักษรเสนาบดีกรุงศรีสัตนาคนหุตกำกับพระราชสาส์น
- ๙ ศุภอักษรเสนาบดีกรุงธนบุรี กำกับพระราชสาส์นมีไปกรุงล้านช้าง
- ๑๐ ศุภอักษรพญาหลวงเมืองแสน อรรคมหาเสนาเมืองล้านช้าง ที่ส่งตัวขึ้นไปจากกรุงธน
- ๑๑ สมณสาส์นมาแต่กรุงศรีสัตนาคนหุต
- ๑๒ คำแปลสมณสาส์น
- ๑๓ สมณสาส์นพระสังฆราชกรุงธนบุรีมีตอบไป
- ศุภอักษรครั้งแผ่นดินเจ้ากรุงธนบุรีตอบไปกรุงศรีสัตนาคนหุต
- อักษร (ข) หมวดแรก พระราชสาส์น รัชกาลที่ ๑ มีไปมากับเมืองญวน
- อักษร (ข) หมวดที่ ๒
- อักษร (ข) หมวดที่ ๓
- อักษร (ข) หมวดที่ ๔ พระราชสาส์นรัชกาลที่ ๒ มีไปเมืองญวน
- (๑) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา ปราบดาภิเศกใหม่
- (๒) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๓) หนังสือ เจ้าพระยาพระคลังผู้ใหญ่ณกรุงเทพมหานครศรีอยุทธยา
- (๔) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๕) พระราชปฏิสัณฐาน
- (๖) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๗) พระราชสาส์น เจ้ากรุงเวียดนาม
- (๘) พระราชสาส์น พระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๙) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๑๐) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๑๑) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๑๒) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๑๓) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๑๔) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๑๕) พระราชสาส์นกรุงเวียดนาม
- (๑๖) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๑๗) พระราชสาส์นพระมเหษี พระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๑๘) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๑๙) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๒๐) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๒๑) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๒๒) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๒๓) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๒๔) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๒๕) หนังสือท่านเจ้าพระยาพระคลังผู้ใหญ่ณกรุงพระมหานครศรีอยุทธยาฯ
- (๒๖ เห็นจะเปนร่างครั้งแรก) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๒๗ เห็นจะเปบฉบับที่แก้แล้วมีไป)
- (๒๘) หนังสือท่านเจ้าพระยาพระคลังผู้ใหญ่ ณะกรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๒๙) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงศรีอยุทธยา
- (๓๐) พระราชสาส์นพระเจ้ามินมาง
- (๓๑) พระราชสาส์นเจ้ากรุงเวียดนาม
- อักษร (ค) จาฤกแผ่นสิลา ว่าด้วยพระบรมธาตุมาแต่เมืองน่าน
- อักษร (ฆ) เรื่องนิพานวังน่า
(๓๐) พระราชสาส์นพระเจ้ามินมาง
(๓๐) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม คำนับมายังสมเด็จพระเจ้าพระมหานครศรีอยุทธยาให้ทราบ ด้วยเตียนวั่งเด้ผู้บิดาทำการศึกเที่ยวปราบปรามหัวเมือง ในแว่นแคว้นเมืองญวนประมาณร้อยครั้งจึงสิ้นเสี้ยนหนาม คืนได้บ้านเมืองดังเก่า จึงได้ตั้งเปนกฎหมายอย่างธรรมเนียม แล้วตั้งแต่งขุนนางอาณาประชาราษฎร จึงได้อยู่เย็นเปนศุขสืบมา จนถึงยาลอง ๑๘ ปีเดือนยี่ทรงพระประชวรลง หมอประกอบยาถวายก็หาชอบโรคไม่ ข้าผู้น้อยกับขุนนางทั้งปวงเข้าไปพยาบาลอยู่ทั้งกลางวันแลกลางคืน จนถึงณวันเดือนสามขึ้นสิบเอ็จค่ำ ข้าผู้น้อยแลขุนนางฝ่ายทหารพลเรือน อยู่พยาบาลพร้อมกัน จึงมีรับสั่งให้ช่วยกันรักษาบ้านเมือง แลสั่งสอนแก่ข้าผู้น้อยทุกประการ ครั้นณวันเดือนสามแรมสี่ค่ำเพลาเช้าสี่โมงเศษ เตียนวั่งเด้สิ้นพระชนม์ไปเมืองฟ้า ขุนนางแลอนาประชาราษฎรมีความทุกข์โศกอาไลยยิ่งนัก แล้วก็ช่วยกันจัดแจงไว้พระศพตามอย่างตามธรรมเนียม แล้วเชิญพระศพเข้าไว้ในที่นั่งว่างยินเดี่ยน ผู้น้อยกับเจ้าน้องเจ้าหลาน แลขุนนางทั้งปวงนุ่งขาวห่มขาวอยู่ในระหว่างทุกข์ กว่าจะครบสามปี แล้วสั่งให้เหลโป่ทำหนังสือรับสั่งแจกไปทุกเมือง แลการพระศพนั้นยังให้ขุนนางผู้ใหญ่จัดแจงเครื่องพระศพอยู่ ต่อเมื่อได้จัดครบแล้วจึงจะได้เชิญพระศพไปฝัง แลเตียนวั่งเด้กับสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยาพระองค์ก่อน เปนทางพระราชไมตรีสนิทยิ่งนัก จึงแต่งให้เหลโป่ต๋า ทำตรีมินดึกห้าวราชทูต พิโนยกว๋านทีกล้ากายเกอกรุงเลืองห้าวอุปทูต กงใบเทียมซือหายหยุ่นห้าวตรีทูต เข้ามาแจ้งความให้ทราบ
พระราชสาส์นมาณวันเดือนห้าขึ้นสี่ค่ำ มินมางปีต้น ๚ะ๛