- ทางพิจารณาหาตัวผู้เขียนจดหมาย
- คำนำเรื่องซึ่งมีในจดหมายความทรงจำ
- คำบรรยายความเห็่นแลความคิดที่จะเรียบเรียงหนังสือนี้
- จดหมายเหตุ ตั้งแต่กรุงเก่าเสียแล้ว เจ้าตากมาตั้งเมืองธนบูรี
- ๑ - ๑๓๐
- ๑๓๑ - ๒๒๔
- ๒๒๕ - ๒๕๖
- อักษร (ก)
- ๑ พระราชสาส์นกรุงศรีสัตนาคนหุต มีมายังกรุงธนบุรี
- ๒ พระราชสาส์นกรุงธนบุรึ ถึง กรุงศรีสัตนาคนหุต
- ๓ ศุภอักษร เสนาบดีกรุงศรีสัตนาคนหุตกำกับพระราชสาส์น
- ๔ ศุภอักษรเสนาบดีกรุงธนบุรีกำกับพระราชสาส์น
- ๕ ศุภอักษรเสนาบดีกรุงธนบุรีรับรับสั่ง มีไปถึงเสนาบดีกรุงล้านช้าง
- ๖ พระราชสาส์นศรีสัตนาคนหุต
- ๗ พระราชสาส์นกรุงธนบุรีมีตอบไป
- ๘ ศุภอักษรเสนาบดีกรุงศรีสัตนาคนหุตกำกับพระราชสาส์น
- ๙ ศุภอักษรเสนาบดีกรุงธนบุรี กำกับพระราชสาส์นมีไปกรุงล้านช้าง
- ๑๐ ศุภอักษรพญาหลวงเมืองแสน อรรคมหาเสนาเมืองล้านช้าง ที่ส่งตัวขึ้นไปจากกรุงธน
- ๑๑ สมณสาส์นมาแต่กรุงศรีสัตนาคนหุต
- ๑๒ คำแปลสมณสาส์น
- ๑๓ สมณสาส์นพระสังฆราชกรุงธนบุรีมีตอบไป
- ศุภอักษรครั้งแผ่นดินเจ้ากรุงธนบุรีตอบไปกรุงศรีสัตนาคนหุต
- อักษร (ข) หมวดแรก พระราชสาส์น รัชกาลที่ ๑ มีไปมากับเมืองญวน
- อักษร (ข) หมวดที่ ๒
- อักษร (ข) หมวดที่ ๓
- อักษร (ข) หมวดที่ ๔ พระราชสาส์นรัชกาลที่ ๒ มีไปเมืองญวน
- (๑) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา ปราบดาภิเศกใหม่
- (๒) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๓) หนังสือ เจ้าพระยาพระคลังผู้ใหญ่ณกรุงเทพมหานครศรีอยุทธยา
- (๔) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๕) พระราชปฏิสัณฐาน
- (๖) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๗) พระราชสาส์น เจ้ากรุงเวียดนาม
- (๘) พระราชสาส์น พระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๙) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๑๐) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๑๑) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๑๒) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๑๓) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๑๔) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๑๕) พระราชสาส์นกรุงเวียดนาม
- (๑๖) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๑๗) พระราชสาส์นพระมเหษี พระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๑๘) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๑๙) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๒๐) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๒๑) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๒๒) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๒๓) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๒๔) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๒๕) หนังสือท่านเจ้าพระยาพระคลังผู้ใหญ่ณกรุงพระมหานครศรีอยุทธยาฯ
- (๒๖ เห็นจะเปนร่างครั้งแรก) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๒๗ เห็นจะเปบฉบับที่แก้แล้วมีไป)
- (๒๘) หนังสือท่านเจ้าพระยาพระคลังผู้ใหญ่ ณะกรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๒๙) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงศรีอยุทธยา
- (๓๐) พระราชสาส์นพระเจ้ามินมาง
- (๓๑) พระราชสาส์นเจ้ากรุงเวียดนาม
- อักษร (ค) จาฤกแผ่นสิลา ว่าด้วยพระบรมธาตุมาแต่เมืองน่าน
- อักษร (ฆ) เรื่องนิพานวังน่า
(๑๐) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
(๑๐) วัน ๖ ๙ฯ ๖ ค่ำ ปีเถาะนพศก
$\left. \begin{array}{}\mbox{พระยาพิพัฒโกษา} & \mbox{๑}\\[1.4ex]\mbox{พระยาธิเบศโกษา} & \mbox{๑}\\[1.4ex]\mbox{ขุนสารประเสริฐ} & \mbox{๑}\\[1.4ex]\mbox{ขุนมหาสิทธิ} & \mbox{๑}\\[1.4ex]\mbox{พระราชมนตรี} & \mbox{๑}\\[1.4ex]\end{array} \right\}$ พร้อมกัน ณ หอพระมณเฑียรธรรม ให้พระราชมนตรีล่ามแปลพระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนามออกเปนคำไทย
สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัว ณกรุงพระมหานครศรีอยุทธยาผู้ใหญ่ ให้ทราบ ณ เดือน ๑ ปีฃานอัฐศก พระยาราชาเสรษฐีจำทูลพระราชสาส์น แลหนังสือท่านมหาเสนาผู้ใหญ่ ไปถึงองไลโบให้ทราบในหนังสือนั้นแล้ว ว่าสมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัว ทรงพระจำเริญศุขอยู่ แลอาณาประชาราษฎร์ก็อยู่เปนศุขดีพระไทยหนัก แลซึ่งสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ ทรงพระจำเริญพระชัณษาขึ้น สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวเศกให้เปนกรมพระราชวังบวร ฯ สืบพระญาติพระวงษาต่อไปแผ่นดินจะได้ยืนยาวไปนั้นยินดีพระไทยหนัก แลทุกวันนี้พระไทยสมเด็จพระเจ้ากรุงเวียดนาม รักใคร่ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัว เสมอต้นเสมอปลาย จะได้รังเกียจสิ่ง$\left. \begin{array}{}\mbox{หนึ่ง } \\[1.4ex]\mbox{ใด }\\[1.4ex]\end{array} \right\}$ หามิได้ พระบาทสมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัว ครองราชสมบัติไพร่ฟ้าประชาราษฎรบ้านน้อยเมืองใหญ่อยู่เยนเปนศุขยืนยาวมานั้น พระเจ้ากรุงเวียดนามยินดีพระไทยนัก บัดนี้แต่งให้ $\left. \begin{array}{}\mbox{กำหทายกายเก่อถนจกหาว ราชทูต} \\[1.4ex]\mbox{ทำลุนตานเมียงหาว อุปทูต}\\[1.4ex]\end{array} \right\}$ จำทูลพระราชสาส์น คุมเครื่องบรรณาการ $\left. \begin{array}{}\mbox{กระลำพัก} & หนัก & \begin{array}{c}\\\begin{array}{c|c} \quad&\quad\\\hline \quad&๒\\\end{array}\end{array} \\[1.4ex]\mbox{อบเชยอย่างดี} & หนัก & \begin{array}{c}\\\begin{array}{c|c} \quad&\quad\\\hline \quad&๓\\\end{array}\end{array} \\[1.4ex]\mbox{อบเชยอย่างกลาง} & หนัก &\begin{array}{c}\\\begin{array}{c|c} \quad&\quad\\\hline \quad&๒๐\\\end{array}\end{array} \\[1.4ex]\mbox{แพรสีต่างกัน} & ๓๐๐ & \mbox{พับ}\\[1.4ex]\mbox{แพรเกวียนฃาว} & ๑๐๐ & \mbox{พับ}\\[1.4ex]\mbox{ผ้าฃาวเนื้อดี} & ๕๐ & \mbox{พับ}\\[1.4ex]\mbox{ผ้าฟ้าเก่า} & ๕๐ & \mbox{พับ}\end{array} \right\}$ เฃ้ามาทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายสมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัว แลฝากเฃ้ามาให้ถวายกรมพระราชวัง $\left. \begin{array}{}\mbox{แพรสีต่างกัน} & ๒๐๐ & \mbox{พับ}\\[1.4ex]\mbox{แพรเกวียน} & ๕๐ & \mbox{พับ}\\[1.4ex]\mbox{ผ้าฃาวเนื้อดี} & ๕๐ & \mbox{พับ}\\[1.4ex]\mbox{ผ้าฟ้าเก่า} & ๕๐ & \mbox{พับ}\end{array} \right\}$
ยาลองศักราช ๖ ปี เดือน ๙ฯ ๔ ค่ำ ฃานอัฐศก