- ทางพิจารณาหาตัวผู้เขียนจดหมาย
- คำนำเรื่องซึ่งมีในจดหมายความทรงจำ
- คำบรรยายความเห็่นแลความคิดที่จะเรียบเรียงหนังสือนี้
- จดหมายเหตุ ตั้งแต่กรุงเก่าเสียแล้ว เจ้าตากมาตั้งเมืองธนบูรี
- ๑ - ๑๓๐
- ๑๓๑ - ๒๒๔
- ๒๒๕ - ๒๕๖
- อักษร (ก)
- ๑ พระราชสาส์นกรุงศรีสัตนาคนหุต มีมายังกรุงธนบุรี
- ๒ พระราชสาส์นกรุงธนบุรึ ถึง กรุงศรีสัตนาคนหุต
- ๓ ศุภอักษร เสนาบดีกรุงศรีสัตนาคนหุตกำกับพระราชสาส์น
- ๔ ศุภอักษรเสนาบดีกรุงธนบุรีกำกับพระราชสาส์น
- ๕ ศุภอักษรเสนาบดีกรุงธนบุรีรับรับสั่ง มีไปถึงเสนาบดีกรุงล้านช้าง
- ๖ พระราชสาส์นศรีสัตนาคนหุต
- ๗ พระราชสาส์นกรุงธนบุรีมีตอบไป
- ๘ ศุภอักษรเสนาบดีกรุงศรีสัตนาคนหุตกำกับพระราชสาส์น
- ๙ ศุภอักษรเสนาบดีกรุงธนบุรี กำกับพระราชสาส์นมีไปกรุงล้านช้าง
- ๑๐ ศุภอักษรพญาหลวงเมืองแสน อรรคมหาเสนาเมืองล้านช้าง ที่ส่งตัวขึ้นไปจากกรุงธน
- ๑๑ สมณสาส์นมาแต่กรุงศรีสัตนาคนหุต
- ๑๒ คำแปลสมณสาส์น
- ๑๓ สมณสาส์นพระสังฆราชกรุงธนบุรีมีตอบไป
- ศุภอักษรครั้งแผ่นดินเจ้ากรุงธนบุรีตอบไปกรุงศรีสัตนาคนหุต
- อักษร (ข) หมวดแรก พระราชสาส์น รัชกาลที่ ๑ มีไปมากับเมืองญวน
- อักษร (ข) หมวดที่ ๒
- อักษร (ข) หมวดที่ ๓
- อักษร (ข) หมวดที่ ๔ พระราชสาส์นรัชกาลที่ ๒ มีไปเมืองญวน
- (๑) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา ปราบดาภิเศกใหม่
- (๒) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๓) หนังสือ เจ้าพระยาพระคลังผู้ใหญ่ณกรุงเทพมหานครศรีอยุทธยา
- (๔) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๕) พระราชปฏิสัณฐาน
- (๖) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๗) พระราชสาส์น เจ้ากรุงเวียดนาม
- (๘) พระราชสาส์น พระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๙) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๑๐) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๑๑) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๑๒) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๑๓) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๑๔) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๑๕) พระราชสาส์นกรุงเวียดนาม
- (๑๖) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๑๗) พระราชสาส์นพระมเหษี พระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๑๘) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๑๙) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๒๐) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๒๑) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๒๒) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๒๓) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๒๔) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๒๕) หนังสือท่านเจ้าพระยาพระคลังผู้ใหญ่ณกรุงพระมหานครศรีอยุทธยาฯ
- (๒๖ เห็นจะเปนร่างครั้งแรก) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๒๗ เห็นจะเปบฉบับที่แก้แล้วมีไป)
- (๒๘) หนังสือท่านเจ้าพระยาพระคลังผู้ใหญ่ ณะกรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๒๙) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงศรีอยุทธยา
- (๓๐) พระราชสาส์นพระเจ้ามินมาง
- (๓๑) พระราชสาส์นเจ้ากรุงเวียดนาม
- อักษร (ค) จาฤกแผ่นสิลา ว่าด้วยพระบรมธาตุมาแต่เมืองน่าน
- อักษร (ฆ) เรื่องนิพานวังน่า
(๔) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
(๔) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม คำนับมาถึงพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยาให้ทราบ ด้วยกรุงเวียดนามกับกรุงพระมหานครศรีอยุทธยาเปนทางพระราชไมตรีสนิทกันมาแต่ก่อนจนทุกวันนี้ ถ้ากรุงเวียดนามจะมีเหตุการประการใด กรุงพระมหานครศรีอยุทธยาก็วิตกถึง ถ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยาจะมีเหตุการประการใด กรุงเวียดนามก็วิตกถึง แลซึ่งสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงในพระบรมโกษฐเสด็จสวรรค์คต พระเจ้ากรุงเวียดนามมีพระไทยอาไลยรักใคร่คิดถึงยิ่งนัก จึ่งแต่งให้ทูตคุมสิ่งของเข้ามาทำบุญ แลการถวายพระเพลิงณเดือนสามปีมะเมียโทศก จึงแต่งทูตจะให้เข้ามาช่วยทำบุญอีก พอมีหนังสือเจ้าเมืองไซ่ง่อนบอกมาถึง ว่ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยาแต่งให้ทูตจำทูลพระราชสาส์นออกมาแจ้งราชการ จึงคิดว่าทูตออกมานั้น ถ้าจะถวายพระเพลิงเมื่อใดเปนแน่ก็จะมีกำหนดมาในพระราชสาส์น จึงให้งดทูตกรุงเวียดนามไว้ ครั้นพระราชสาส์นไปถึงได้แจ้งในพระราชสาส์นว่ากำหนดจะถวายพระเพลิง สมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงในพระบรมโกษฐ ณเดือน ๕ ข้างแรม เดือน ๖ ข้างขึ้น ปีมแมตรีศก จึงแต่งให้ $\left. \begin{array}{}\mbox{คำทรายเจืองเกอหวานเง่าเค้าราชทูต ๑ } \\[1.4ex]\left. \begin{array}{}\mbox{คำทรายถวกโหนยพอเว้วิตรินเตืองเห้า} \\[1.4ex]\mbox{โหโบเกียมชื่อตวันทันเห้า}\\[1.4ex]\end{array} \right\} \mbox{อุปทูต ๒ }\end{array} \\[1.4ex]\right.$ เข้าไปให้ทันกำหนดทำบุญ จะได้ยินดีในทางพระราชไมตรีแลไมตรีสืบไป แลมีเนื้อความในพระราชสาส์นเปนหลายประการ ครั้นพิเคราะห์ดูในพระราชสาส์นเห็นเปนที่สงไสย ไม่แจ้งพระไทยกรุงเวียดนาม แลกรุงพระมหานครศรีอยุทธยากับกรุงเวียดนาม เปนทางพระราชไมตรีสนิทมา หามีความรังเกียจสิ่งใดไม่ แลเจ้าเมืองเขมรบอกหนังสือมาว่า กรุงพระมหานครศรีอยุทธยาเกณฑ์กองทัพเขมรเปนกองทัพเรือลงไปทางไซ่ง่อน เจ้าเมืองไซ่ง่อนจะไว้ใจมิได้จึงบอกหนังสือขึ้นไปกรุงเวียดนาม เจ้าเมืองไซ่ง่อนจึงเกณฑ์กองทัพไปรักษาแว่นแคว้นแดนเมืองไซ่ง่อน แลซึ่งเจ้าเมืองไซ่ง่อนจัดแจงให้กองทัพไปรักษาแว่นแคว้นนั้นก็ควรอยู่ พอมีหนังสือเมืองเขมรบอกซ้ำไปอิกในเมืองเขมรวุ่นวายเห็นจะรักษาเมืองมิได้ กรุงเวียดนามคิดว่าเมืองเขมรแต่ก่อนมาเปนข้าสองกรุงใหญ่ บัดนี้เมืองเขมรวุ่นวาย แล้วกรุงมหาพระนครศรีอยุทธยาก็ทำการพระบรมศพ แลมีการศึกด้วย กรุงเวียดนามจะนิ่งดูมิได้ จึ่งให้เจ้าเมืองไซ่ง่อนยกกองทัพขึ้นไปรักษาเมืองเขมรให้ราบคาบอย่าให้เขมรวุ่นวายกัน แว่นแคว้นกรุงเวียดนามจะได้อยู่ปรกติ เมืองเขมรจะได้พึ่งอยู่เย็นเปนศุข แล้วกรุงพระมหานครศรีอยุทธยากับกรุงเวียดนาม สองพระนครจึงจะไม่มีความวิตก กรุงเวียดนามคิดทั้งนี้ เหมือนช่วยกรุงพระมหานครศรีอยุทธยา ด้วยกรุงพระมหานครศรีอยุทธยาเปนทางไกล กรุงเวียดนามกับกรุงพระมหานครศรีอยุทธยาก็ทางไกล หาเห็นน้ำพระไทยพระเจ้าเวียดนามไม่ จึงมีพระราชสาส์นมาให้ทราบ
พระราชสาส์นมาณเดือนหกขึ้นสองค่ำ ยาลอง ๑๐ ปีมแมตรีนิศก ๚ะ๛