- ทางพิจารณาหาตัวผู้เขียนจดหมาย
- คำนำเรื่องซึ่งมีในจดหมายความทรงจำ
- คำบรรยายความเห็่นแลความคิดที่จะเรียบเรียงหนังสือนี้
- จดหมายเหตุ ตั้งแต่กรุงเก่าเสียแล้ว เจ้าตากมาตั้งเมืองธนบูรี
- ๑ - ๑๓๐
- ๑๓๑ - ๒๒๔
- ๒๒๕ - ๒๕๖
- อักษร (ก)
- ๑ พระราชสาส์นกรุงศรีสัตนาคนหุต มีมายังกรุงธนบุรี
- ๒ พระราชสาส์นกรุงธนบุรึ ถึง กรุงศรีสัตนาคนหุต
- ๓ ศุภอักษร เสนาบดีกรุงศรีสัตนาคนหุตกำกับพระราชสาส์น
- ๔ ศุภอักษรเสนาบดีกรุงธนบุรีกำกับพระราชสาส์น
- ๕ ศุภอักษรเสนาบดีกรุงธนบุรีรับรับสั่ง มีไปถึงเสนาบดีกรุงล้านช้าง
- ๖ พระราชสาส์นศรีสัตนาคนหุต
- ๗ พระราชสาส์นกรุงธนบุรีมีตอบไป
- ๘ ศุภอักษรเสนาบดีกรุงศรีสัตนาคนหุตกำกับพระราชสาส์น
- ๙ ศุภอักษรเสนาบดีกรุงธนบุรี กำกับพระราชสาส์นมีไปกรุงล้านช้าง
- ๑๐ ศุภอักษรพญาหลวงเมืองแสน อรรคมหาเสนาเมืองล้านช้าง ที่ส่งตัวขึ้นไปจากกรุงธน
- ๑๑ สมณสาส์นมาแต่กรุงศรีสัตนาคนหุต
- ๑๒ คำแปลสมณสาส์น
- ๑๓ สมณสาส์นพระสังฆราชกรุงธนบุรีมีตอบไป
- ศุภอักษรครั้งแผ่นดินเจ้ากรุงธนบุรีตอบไปกรุงศรีสัตนาคนหุต
- อักษร (ข) หมวดแรก พระราชสาส์น รัชกาลที่ ๑ มีไปมากับเมืองญวน
- อักษร (ข) หมวดที่ ๒
- อักษร (ข) หมวดที่ ๓
- อักษร (ข) หมวดที่ ๔ พระราชสาส์นรัชกาลที่ ๒ มีไปเมืองญวน
- (๑) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา ปราบดาภิเศกใหม่
- (๒) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๓) หนังสือ เจ้าพระยาพระคลังผู้ใหญ่ณกรุงเทพมหานครศรีอยุทธยา
- (๔) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๕) พระราชปฏิสัณฐาน
- (๖) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๗) พระราชสาส์น เจ้ากรุงเวียดนาม
- (๘) พระราชสาส์น พระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๙) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๑๐) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๑๑) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๑๒) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๑๓) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๑๔) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๑๕) พระราชสาส์นกรุงเวียดนาม
- (๑๖) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๑๗) พระราชสาส์นพระมเหษี พระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๑๘) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๑๙) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๒๐) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๒๑) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๒๒) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๒๓) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๒๔) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๒๕) หนังสือท่านเจ้าพระยาพระคลังผู้ใหญ่ณกรุงพระมหานครศรีอยุทธยาฯ
- (๒๖ เห็นจะเปนร่างครั้งแรก) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๒๗ เห็นจะเปบฉบับที่แก้แล้วมีไป)
- (๒๘) หนังสือท่านเจ้าพระยาพระคลังผู้ใหญ่ ณะกรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๒๙) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงศรีอยุทธยา
- (๓๐) พระราชสาส์นพระเจ้ามินมาง
- (๓๑) พระราชสาส์นเจ้ากรุงเวียดนาม
- อักษร (ค) จาฤกแผ่นสิลา ว่าด้วยพระบรมธาตุมาแต่เมืองน่าน
- อักษร (ฆ) เรื่องนิพานวังน่า
(๑๑) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
๏ วัน ๑ ๑๐ฯ ๘๘ ค่ำ จุลศักราช ๑๑๗๔ ปีวอกจัตวาศก ได้ฤกษ ๒ โมงสามบาท
$\left. \begin{array}{}\mbox{พระยาศรีสุริยวงษว่าที่โกษา} \\[1.4ex]\mbox{พระยาพิพัฒโกษา} \\[1.4ex]\mbox{พระยาธรมา} \\[1.4ex]\mbox{พระยาอุไทยธรรม์} \\[1.4ex]\mbox{หลวงทองสือ} \\[1.4ex]\mbox{หลวงโชฎิก} \\[1.4ex]\mbox{หลวงสุนทรโวหาร} \\[1.4ex]\end{array} \right\}$ นั่งพร้อมกัน ณพี่หอพระมณเฑียรธรรม หมื่นเทพไมตรีจาฤกพระราชสาส์นกระดาษฝรั่ง ๒ แผ่น เปนอักษร ๑๙ บรรทัด นายเอี่ยมมหาดเล็กถือไปณวัน ๑ ๑๐ฯ ๘๘ ค่ำ จุลศักราช ๑๑๗๔ ปีวอกจัตวาศก ๚ะ๛
(๑๑) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยาจำเริญพระราชไมตรีมาแจ้งแต่สมเด็จพระเจ้ากรุงเวียดนามให้ทราบ เมื่อณเดือนสี่ปีมแมตรีนิศก สมเด็จพระเจ้ากรุงเวียดนามมีพระราชสาส์น ให้ไกโดยเหียรเข้าไปแจ้งด้วยวางทายเห้าสวรรคคตแล้วมีพระไทยวิตกว่าพระอุไทยราชาธิราชไม่คำนับกรุงพระมหานครศรีอยุทธยาก็เหมือนไม่คำนับกรุงเวียดนาม จะคิดทำแก่เมืองกัมพูชาประการใดขอให้มีพระราชสาส์นออกมาจงแจ้ง นั้นเห็นว่าเปนแต่ความพี่น้องวิวาทกัน ที่ส่วนตัวพระอุไทยราชาธิราช ผิดล่วงเกินก็ยกโทษให้แล้ว เห็นจะหามีความรังเกียจไม่ สมเด็จพระเจ้ากรุงเวียดนามก็ต้องกระทำการพระศพฉลองพระคุณวางทายเห้าเปนการใหญ่อยู่ คิดว่ายังจะมิให้ธุระกรุงเวียดนามก่อน แล้วได้ให้ขุนนางผู้ใหญ่รงับห้ามปราม ก่อนไกโดยเหียรเข้าไปถึงจึงมีพระราชสาส์นตอบออกมา ว่ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา จะว่ากล่าวมิให้เสียประเพณีทั้งสองฝ่าย ครั้นพระยายมราชพาองค์สงวนลงมาณเมืองพุทไธเพชร์ พระอุไทยราชาก็หาอยู่ให้ชำระว่ากล่าวไม่ อบพยบพาครอบครัวลงมาอยู่ณเมืองไซ่ง่อน ความจึงค้างอยู่มิได้ว่ากล่าวสมัคสมานให้พี่น้องดีด้วยกัน เพราะความขัดข้องดังนี้ กรุงพระมหานครศรีอยุทธยา จึงมีพระราชสาส์นออกมาแจ้งแต่สมเด็จพระเจ้ากรุงเวียดนาม จะได้ทรงดำริห์ให้ต้องตามประเพณีทั้งสองฝ่าย
พระราชสาส์นมาณวัน ๑ ๑๐ฯ ๘๘ ค่ำ จุลศักราช ๑๑๗๔ ปีวอกจัตวาศก