- ทางพิจารณาหาตัวผู้เขียนจดหมาย
- คำนำเรื่องซึ่งมีในจดหมายความทรงจำ
- คำบรรยายความเห็่นแลความคิดที่จะเรียบเรียงหนังสือนี้
- จดหมายเหตุ ตั้งแต่กรุงเก่าเสียแล้ว เจ้าตากมาตั้งเมืองธนบูรี
- ๑ - ๑๓๐
- ๑๓๑ - ๒๒๔
- ๒๒๕ - ๒๕๖
- อักษร (ก)
- ๑ พระราชสาส์นกรุงศรีสัตนาคนหุต มีมายังกรุงธนบุรี
- ๒ พระราชสาส์นกรุงธนบุรึ ถึง กรุงศรีสัตนาคนหุต
- ๓ ศุภอักษร เสนาบดีกรุงศรีสัตนาคนหุตกำกับพระราชสาส์น
- ๔ ศุภอักษรเสนาบดีกรุงธนบุรีกำกับพระราชสาส์น
- ๕ ศุภอักษรเสนาบดีกรุงธนบุรีรับรับสั่ง มีไปถึงเสนาบดีกรุงล้านช้าง
- ๖ พระราชสาส์นศรีสัตนาคนหุต
- ๗ พระราชสาส์นกรุงธนบุรีมีตอบไป
- ๘ ศุภอักษรเสนาบดีกรุงศรีสัตนาคนหุตกำกับพระราชสาส์น
- ๙ ศุภอักษรเสนาบดีกรุงธนบุรี กำกับพระราชสาส์นมีไปกรุงล้านช้าง
- ๑๐ ศุภอักษรพญาหลวงเมืองแสน อรรคมหาเสนาเมืองล้านช้าง ที่ส่งตัวขึ้นไปจากกรุงธน
- ๑๑ สมณสาส์นมาแต่กรุงศรีสัตนาคนหุต
- ๑๒ คำแปลสมณสาส์น
- ๑๓ สมณสาส์นพระสังฆราชกรุงธนบุรีมีตอบไป
- ศุภอักษรครั้งแผ่นดินเจ้ากรุงธนบุรีตอบไปกรุงศรีสัตนาคนหุต
- อักษร (ข) หมวดแรก พระราชสาส์น รัชกาลที่ ๑ มีไปมากับเมืองญวน
- อักษร (ข) หมวดที่ ๒
- อักษร (ข) หมวดที่ ๓
- อักษร (ข) หมวดที่ ๔ พระราชสาส์นรัชกาลที่ ๒ มีไปเมืองญวน
- (๑) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา ปราบดาภิเศกใหม่
- (๒) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๓) หนังสือ เจ้าพระยาพระคลังผู้ใหญ่ณกรุงเทพมหานครศรีอยุทธยา
- (๔) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๕) พระราชปฏิสัณฐาน
- (๖) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๗) พระราชสาส์น เจ้ากรุงเวียดนาม
- (๘) พระราชสาส์น พระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๙) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๑๐) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๑๑) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๑๒) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๑๓) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๑๔) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๑๕) พระราชสาส์นกรุงเวียดนาม
- (๑๖) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๑๗) พระราชสาส์นพระมเหษี พระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๑๘) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๑๙) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๒๐) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๒๑) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๒๒) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๒๓) พระราชสาส์นพระเจ้ากรุงเวียดนาม
- (๒๔) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๒๕) หนังสือท่านเจ้าพระยาพระคลังผู้ใหญ่ณกรุงพระมหานครศรีอยุทธยาฯ
- (๒๖ เห็นจะเปนร่างครั้งแรก) พระราชสาส์นสมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๒๗ เห็นจะเปบฉบับที่แก้แล้วมีไป)
- (๒๘) หนังสือท่านเจ้าพระยาพระคลังผู้ใหญ่ ณะกรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
- (๒๙) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงศรีอยุทธยา
- (๓๐) พระราชสาส์นพระเจ้ามินมาง
- (๓๑) พระราชสาส์นเจ้ากรุงเวียดนาม
- อักษร (ค) จาฤกแผ่นสิลา ว่าด้วยพระบรมธาตุมาแต่เมืองน่าน
- อักษร (ฆ) เรื่องนิพานวังน่า
(๑๐) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา
๏ วัน ๗ ๔ฯ ๔ ค่ำจุลศักราช ๑๑๗๓ ปีมแมตรีนิศก ได้จาฤกเพลา ๒ โมงเช้า
$\left. \begin{array}{}\mbox{พระยาพิพัฒโกษา} \\[1.4ex]\mbox{พระยาทิพโกษา} \\[1.4ex]\mbox{พระยาวิสูตรโกษา} \\[1.4ex]\mbox{พระยาทศโยธา} \\[1.4ex]\mbox{พระยาเกษตรรักษา} \\[1.4ex]\mbox{พระยามณเฑียรบาล} \\[1.4ex]\mbox{พระยาพิพิธไอสวรรย์} \\[1.4ex]\mbox{หลวงพิพิธสมบัติ} \\[1.4ex]\mbox{ขุนมหาสิทธโวหาร} \\[1.4ex]\end{array} \right\}$ พร้อมกันณหอพระมณเฑียรธรรม $\left. \begin{array}{}\mbox{หมื่นสุวรรณอักษร } \\[1.4ex]\mbox{หมื่นบรรจงอักษร }\\[1.4ex]\end{array} \right\}$ อาลักษณ์จาฤกพระราชสาส์นอักษรไทย $\left. \begin{array}{}\mbox{หมื่นสุวรรณอักษร } \\[1.4ex]\mbox{หมื่นบรรจงอักษร }\\[1.4ex]\end{array} \right\}$ บันทัดลงกระดาษฝรั่ง
(๑๐) พระราชสาส์น สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุทธยา จำเริญพระราชไมตรีมาแจ้งแต่สมเด็จพระเจ้ากรุงเวียดนาม ด้วยณวัน ๕ ๒ฯ ๔ ค่ำปีมแมตรีนิศก พระยาอไภยภูเบศรผู้รักษาเมืองปัตบองบอกหนังสือเข้าไปว่า องค์สงวนผู้น้องพระอุไทยราชาธิราชซึ่งร่วมมารดาเดียวกันพาขุนนางเขมร ๗ คนกับไพร่ประมาณ ๑๐๐ เสศหนีพระอุไทยราชาธิราชมาจากกรุงกัมพูชาธิบดี หยุดอยู่ณเมืองโพธิสัตว์ ภายหลังขุนนางเขมรหนีตามมาบอกแก่องค์สงวนว่า พระอุไทยราชาธิราชเกณฑ์กองทัพ $\left. \begin{array}{}\mbox{บก } \\[1.4ex]\mbox{เรือ }\\[1.4ex]\end{array} \right\}$ ตามเปนหลายทาง ข้างองค์สงวนซึ่งมาตั้งอยู่ณเมืองโพธิสัตว์นั้น ก็ตระเตรียมผู้คนรักษาตัวเห็นว่าจะเกิดรบพุ่งฆ่าฟันกันเปนมั่นคง ฝ่ายกรุงพระมหานครศรีอยุทธยาได้ทำนุบำรุง เลี้ยงพระอุไทยราชาธิราช องค์สงวน เปนบ้านเมืองปรกติอยู่แล้ว พระอุไทยราชาธิราชกับองค์สงวนเล่าก็ใช่ผู้อื่นร่วม $\left. \begin{array}{}\mbox{บิดา } \\[1.4ex]\mbox{มารดา }\\[1.4ex]\end{array} \right\}$ เดียวกันจะให้เกิดฆ่าฟันกันขึ้นนั้นหาควรไม่ จึ่งให้ขุนนางผู้ใหญ่ออกมารงับห้ามปรามทั้ง ๒ ฝ่ายจะให้$\left. \begin{array}{}\mbox{สมัค } \\[1.4ex]\mbox{สมาน }\\[1.4ex]\end{array} \right\}$ ประ $\left. \begin{array}{}\mbox{หนบ } \\[1.4ex]\mbox{นอบ }\\[1.4ex]\end{array} \right\}$ กันตามฉันพี่แลน้อง แต่ทว่าจะปรกติกันผู้ใดฤๅจะกระด้าง เดื้อง } อยู่มิฟังบังคับบัญชาเปนประการใดนั้นจึ่งจะให้บอกข้อราชการมาทางเมืองไซ่ง่อนต่อครั้งหลัง บัดนี้แจ้งความมาแต่พอให้สมเด็จพระเจ้ากรุงเวียดนามทราบพระไทย พระราชสาส์นมาณวัน ๗ ๔ฯ ๔ ค่ำ ศักราช ๑๑๗๓ ปีมแมตรีนิศก