- พระพุทธภาษิต
- ผู้เขียนขออุทิศ...
- คำนำในการพิมพ์ครั้งที่สอง
- คำนำในการพิมพ์ครั้งแรก
- ภาคหนึ่ง เริ่มสงครามด้านยุโรป ถึงเริ่มสงครามด้านเอเซีย
- ภาคสอง ระหว่างสงคราม
- บทที่ ๑ ไปญี่ปุ่น
- บทที่ ๒ สถานการณ์ทั่ว ๆ ไปของญี่ปุ่นก่อนเกิดสงคราม
- บทที่ ๓ ในญี่ปุ่นระหว่าง มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๕ ถึง กันยายน พ.ศ. ๒๔๘๖
- บทที่ ๔ กลับเข้ารับราชการในกระทรวงการต่างประเทศ
- บทที่ ๕ เหตุการณ์ระหว่าง สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๘๗ ถึง สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๘๘
- ข้อเขียนของนายทวี บุณยเกตุ
- ข้อเขียนของนายป๋วย อึ๊งภากรณ์
- ข้อเขียนของพระพิศาลสุขุมวิท
- รายชื่อนักเรียนไทยในอเมริกาซึ่งได้สมัครเข้าร่วมงานต่อต้านญี่ปุ่น (คณะเสรีไทยในอเมริกา)
- ภาคสาม หลังสงคราม
- ภาคผนวก
- ๑. สัญญาไม่รุกรานกับฝรั่งเศส
- ๒. สัญญาไม่รุกรานกับอังกฤษ
- ๓. สัญญาไม่รุกรานกับญี่ปุ่น
- ๔. อนุสัญญาสันติภาพกับฝรั่งเศส
- ๕. ความตกลงสมบูรณ์แบบกับอังกฤษ
- ๖. หนังสือแลกเปลี่ยนและหัวข้อความตกลงกับภาคผนวก
- ๗. สนธิสัญญาทางไมตรีกับจีน
- ๘. ความตกลงสันติภาพฉบับที่สุด ระหว่างไทยกับออสเตรเลีย
- ๙. ความตกลงระงับกรณีระหว่างไทยกับฝรั่งเศส
- ๑๐. คำแปลรายงานของคณะกรรมการการประนอมฝรั่งเศส-ไทย
- ๑๑. รายงาน ความเห็นคณะกรรมาธิการวิสามัญสอบสวนสะสางทรัพย์สินของชาติ ซึ่งคณะเสรีไทยได้ใช้จ่าย ทั้งภายในและภายนอกประเทศ
พระพุทธภาษิต
ธมฺเม ิตํ น วิชหาติ กิตฺติ
เกียรติคุณความดี ย่อมไม่ละผู้ตั้งอยู่ในธรรม
“Dhamme thitam na vijahati kitti”
“And fame will never forsake him, who is steadfast in Virtue”.
น หิ ธมฺโม อธมฺโม จ อุโภ สม วิภาคิโน
อธมฺโม นิรยํ เนติ ธมฺโม ปาเปติ สุคติ ํ
ธรรมกับอธรรมให้ผลหาเสมอกันไม่, อธรรมย่อมจักนำชนไปสู่นรก, แต่ธรรมย่อมจักนำชนให้ข้ามพ้นบาปไปสู่สุคติ
“Na hi dhammo addhanemo ca
“Ubho samavipakino
Adhammo pirayam neti
“Dhammo papeti sugatim”
Virtue and evil give not the same fruit, for evil leads men to hell, whereas virtue Leads them to heaven; those who are virtuous are sent up by virtue to prosperity, while those who are evil are dragged down by evil to ruin". The Lord Buddha
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯ ทรงแปล
ด้วยอำนาจสังวาจาพระพุทธภาษิตนี้ ขอความสุขสิริสวัสดิ์พิพัฒนมงคลจงมีแด่ท่านที่รักและเคารพทั้งหลาย จงทุกเมื่อเทอญฯ
๑๘ มกราคม ๒๕๑๐