- คำนำ
- คำชี้แจง
- คำนำในการจัดพิมพ์ครั้งแรก
- คำปรารภ
- GENERAL PREFACE
- พระราชประวัติพญาลิไทย
- สังเขปประวัติวรรณคดีไทย
- เตภูมิกถา รตนตยปณามคาถา
- คำแปล
- ความนำ
- บทนำ
- บทที่ ๑ แดนนรก
- บทที่ ๒ แดนของสัตว์เดรัจฉาน
- บทที่ ๓ แดนเปรต
- บทที่ ๔ แดนอสุรกาย
- บทที่ ๕ แดนมนุษย์
- บทที่ ๖ แดนสวรรค์ชั้นฉกามาพจร
- บทที่ ๗ รูปาวจรภูมิ
- บทที่ ๘ อรูปาวจรภูมิ
- บทที่ ๙ อวินิโภครูป
- บทที่ ๑๐ ความพินาศและการเกิดของโลก
- บทที่ ๑๑ นิพพาน
- อวสานพจน์
- ภาคผนวก ๑ คัมภีร์ที่กล่าวอ้างไว้ในไตรภูมิกถา (ไตรภูมิพระร่วง)
- ภาคผนวก ๒ รายชื่อคัมภีร์ที่ผู้รจนาไตรภูมิใช้เป็นหนังสืออุเทศ
- ภาคผนวก ๓ แผนภูมิโครงสร้างไตรภูมิ
- ภาคผนวก ๔ ภาพลายเส้นไตรภูมิ
- ภาคผนวก ๕ เส้นทางเดินพระอาทิตย์
- ภาคผนวก ๖ เนื้อหาสาระในแดนต่าง ๆ
- ภาคผนวก ๗ อธิบายเหตุแห่งมรณะ ๔
- ภาคผนวก ๘ ทศพิธราชธรรม
- บรรณานุกรม
- รายนามคณะทำงาน โครงการวรรณกรรมอาเซียน
ภาคผนวก ๑ คัมภีร์ที่กล่าวอ้างไว้ในไตรภูมิกถา (ไตรภูมิพระร่วง)
หนังสือหรือคัมภีร์ต่าง ๆ ที่ใช้เป็นหนังสืออุเทศในการเรียบเรียงไตรภูมิกถาหรือไตรภูมิพระร่วงนั้น มีรายชื่อปรากฏอยู่ทั้งในบานแพนกตอนต้นเรื่องและตอนท้ายเรื่อง มีจำนวนและรายชื่อต่างกันอยู่บ้าง ดังนี้
ก. ตอนต้นเรื่อง
๑. พระอรรถกถาจตุราคม
๒. อรรถกถา ฎีกา พระอภิธรรมาวดาร
๓. พระอภิธรรมสังคหะ
๔. พระสุมังคลวิลาสินี
๔. พระปปัญจสูทนี
๖. พระสารัตถปกาสินี
๗. พระมโนรถปูรณี
๘. พระลีนัตถปกาสินี
๙. พระอรรถกถาฎีกาพระวินัย
๑๐. พระธรรมปท
๑๑. พระมหาวัคค์
๑๒. พระธรรมมหากถา
๑๓. พระมธุรัตถวิลาสินี
๑๔. พระธรรมชาดก
๑๔. พระชินาลังการ
๑๖. พระสารัตถทีปนี
๑๗. พระพุทธวงศ์
๑๘. พระสารสังคหะ
๑๙. พระมิลินทปัญหา
๒๐. พระปาเลยย (พระธัมมปาลิเชยย)?
๒๑. พระมหานิทาน
๒๒. พระอนาคตวงศ์
๒๓. พระจริยปิฎก
๒๔. พระโลกปัญญัตติ
๒๕. พระมหากัลป์
๒๖. พระอรุณวตี
๒๗. พระสมันตปาสาทิกา
๒๘. พระวิสุทธิมัคค์
๒๙. พระลักขณาภิธรรม
๓๐. พระอนุฎีกาหิงสธรรม (?)
๓๏. พระสารีริกพินิจฉัย
๓๒. พระโลกุปปัตติ
ข. ตอนท้ายเรื่อง
๑. อัฏฐกถา ฎีกาพระจตุราคม
๒. อัฏฐกถา ฎีกาพระอภิธรรมาวดาร
๓. อัฏฐกถาพระอภิธรรมมัตถสังคหะ
๔. พระสุมังคลวิลาสินี
๕. พระปปัญจสูทนี
๖. พระสารัตถปกาสินี
๗. พระมโนรถปูรณี
๘. พระลีนัตถปกาสินี
๙. อัฎฐกถาฎีกาพระวินัยปิฎก
๑๐. พระธรรมมหารถกถา
๑๑. พระมธุรัตถวิลาสินี
๑๒. พระชาตกัฏฐกถา
๑๓. พระชินาลังการ
๑๔. พระโพธิวงศ์
๑๕. พระสารสังคหะ
๑๖. พระอภิธัมมัตถสังคหะ
๑๗. พระอภิธรรมาวดาร
๑๘. พระมิลินท์
๑๙. ทระธรรมหทยะ
๒๐. พระมหามิทาน
๒๑. พระพุทธวงศ์
๒๒. พระอนาคตวงศ์
๒๓. พระจริยปิฎก
๒๔. พระธรรมบท
๒๕. พระโลกปัญญัตติ
๒๖. พระมหากัลป์
๒๗. พระพรุณวดีสูตร
๒๘. พระสมันตปาสาทิกา
๒๙. พระวิสุทธิมรรค
๓๐. พระลักขณทิธรรม
๓๑. พระอนุปติกา
๓๒. พระโลกุปปัตติ
๓๓. พระสารีริกพินิจฉัย
ตามรายชื่อดังกล่าวนี้ จะเห็นได้ว่าคัมภีร์อุเทศเหล่านี้มีทั้งพระไตรปิฎก อรรถกถาฎีกา และปกรณ์พิเศษ ซึ่งเป็นคัมภีร์สำคัญทางพระพุทธศาสนา ทำให้เห็นว่าพระองค์ผู้ทรงนิพนธ์ไตรภูมิกถา (ไตรภูมิพระร่วง) ทรงมีพระปรีชาสามารถ เชี่ยวชาญในพระไตรปิฎกเป็นอย่างยิ่ง
พิทูร มลิวัลย์