- คำนำ
- คำปรารภของผู้เรียบเรียงพระประวัติ
- พระประวัติ นายพลเอก พระเจ้าบรมวงศเธอ กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน
- สำเนาพระราชหัตถเลขา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ฉะบับที่ ๑)
- สำเนาพระราชหัตถเลขา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ฉะบับที่ ๒)
- สำเนาพระราชหัตถเลขา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ฉะบับที่ ๓)
- สำเนาพระราชหัตถเลขา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ฉะบับที่ ๔)
- สำเนาพระราชหัตถเลขา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ฉะบับที่ ๕)
- สำเนาพระราชหัตถเลขา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ฉะบับที่ ๖)
- สำเนาพระราชหัตถเลขา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ฉะบับที่ ๗)
- สำเนาพระราชหัตถเลขา พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
- สำเนาพระราชหัตถเลขา พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
- คำอธิบายของกรมศิลปากร
- เดือน ๗ จุลศักราช ๑๒๔๓
- เดือน ๘ จุลศักราช ๑๒๔๓
- เดือน ๙ จุลศักราช ๑๒๔๓
- เดือน ๑๐ จุลศักราช ๑๒๔๓
- เดือน ๑๑ จุลศักราช ๑๒๔๓
- เดือน ๑๒ จุลศักราช ๑๒๔๓
- เดือน ๑ จุลศักราช ๑๒๔๓
- เดือน ๒ จุลศักราช ๑๒๔๓
สำเนาพระราชหัตถเลขา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ฉะบับที่ ๕)
วันที่ ๗ มีนาคม ๓๘ร.ศ. ๑๒๔
ถึง บุรฉัตร
ได้รับหนังสือบอกข่าวหญิงเล็กออกลูกไม่มีอันตรายนั้น มีความยินดี ขออำนวยพรให้เจ้าทั้งสองคนและเด็กที่เกิดใหม่ด้วย เด็กคนนี้จะให้เป็นพระองค์เจ้า การทำขวัญไม่รู้ว่าพระองค์เจ้าชะนิดนี้เขาทำกันอย่างใด เพราะพ่อไม่เคยมีลูกเป็นพระองค์เจ้า แต่ดูเหมือนจะไม่เหมือนกันโดยมาก ตามอัทธยาไศรยใครฤาครูบาอาจารย์เขาจะแนะนำ เมื่อศรีวิไลยออกนั้นได้ถามกรมสมเด็จพระบำราบ ท่านก็ไม่สั่งให้ทำอย่างไรเป็นอันตามใจ ก็ใช้พานถมเป็นบายศรีวานพราหมณ์เขาทำ เมื่อทำขวัญเดือนก็ทำคล้ายเจ้านายแต่ไม่มีพราหมณ์เห่กล่อม มีพราหมณ์คนเดียวทั้งทำขวัญและยกขึ้นวางเปลเท่านั้น เห็นว่าการที่จะทำให้เป็นการเลี้ยงดูพวกพ้องกันเป็นอย่างใหม่ ๆ จะดีกว่า ไปค้นหาแบบอย่างเจ้านายให้เป็นเกียรติยศอย่างคฤา ซึ่งจะตื่นเต้นกันก็เล็กน้อย
(พระปรมาภิไธย) สยามินทร์