บรรณานุกรม

กรรณิกา จรรย์แสง. “ตามรอยเอกสารว่าด้วยสยามในฝรั่งเศส”, อักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๑๕, ๒ (๒๕๓๖): ๘๕-๙๖.

กรรณิกา จรรย์แสงและมอร์กาน สปอร์แตส. “โกษาปานต้านฝรั่งเศสยึดสยาม”, ศิลปวัฒนธรรม ๑๕, ๑ (พ.ย. ๒๕๓๖): ๑๖๗ -๑๗๓.

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. อยุธยา ประวัติศาสตร์และการเมือง. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษศาสตร์, ๒๕๔๒.

ณรงค์ พ่วงพิศ. “อิทธิพลตะวันตกที่ส่งผลกระทบต่อราชวงศ์ปราสาททอง”, เอกสารประกอบการสัมมนาประวัติศาสตร์เมืองลพบุรี ๖-๘ ธันวาคม ๒๕๒๒. กรุงเทพฯ : เรือนแก้วการพิมพ์, ๒๕๒๔.

ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. ประชุมพงศาวดารภาคที่ ๘ จดหมายเหตุโหร. พิมพ์แจกในงานศพคุณหญิง ศรีภูริปรีชา ปีมะเส็ง พ.ศ.๒๔๖๐. พระนคร : โรงพิมพ์โทย, ๒๔๖๐.

นิโคลาส์ แชร์แวส. ประวัติศาสตร์ธรรมชาติและการเมืองแห่งราชอาณาจักรสยาม. แปลโดย สันต์ ท.โกมลบุตร. กรุงเทพฯ : ก้าวหน้า, ๒๕๒๖.

พลับพลึง มูลศิลป์. ความสัมพันธ์ไทย-ฝรั่งเศสสมัยอยุธยา. กรุงเทพฯ : บรรณกิจ, ๒๕๒๓.

มณีปิ่น พรหมสุทธิรักษ์. “ประเพณีมีพระราชปุจฉา”, อักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๑๐ , ๒ (๒๕๓๑) : ๔๗-๕๕

มานพ ถนอมศรี. ราชทูตและบาทหลวงฝรั่งเศสในกรุงสยาม. พิมพ์ครั้งที่ ๒, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ต้นอ้อ, ๒๕๔๐.

รัชฎาพร ฤทธิจันทร์. “สามเณราลัยของคณะมิชชันนารีฝรั่งเศส : รูปแบบใหม่ในระบบการศึกษาไทยสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาฝรั่งเศสศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๓.

ลาลูแบร์. จดหมายเหตุลาลูแบร์ ฉบับสมบูรณ์. แปลโดย สันต์ ท. โกมลบุตร, กรุงเทพฯ : ก้าวหน้า, ๒๕๑๐.

วรพร ภู่พงศ์พันธุ์. “ความเป็นสังคมนานาชาติของพระนครศรีอยุธยาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ ๑๖ ถึง ค.ศ. ๑๗๖๗.” วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๕๒.

วีรฉัตร วรรณดี. “หนังสือไวยากรณ์ไทยที่ชาวต่างประเทศเขียนขึ้นสมัยอยุธยาและสมัยต้นรัตนโกสินทร์”. อักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร ๑๐ , ๑ (๒๕๓๐) : ๗๐-๘๐

ศิลปากร, กรม. เรื่องราวของคณะสังฆราชฝรั่งเศสในราชอาณาจักรสยาม. แปลโดย เพียงฤทัย ตันติธีรวิทย์, กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๓๖.

สมาคมดาราศาสตร์ไทย. จดหมายเหตุดาราศาสตร์จากฝรั่งเศสเกี่ยวกับราชอาณาจักรสยามในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช. กรุงเทพฯ : สมาคมดาราศาสตร์ไทย, ๒๕๔๒.

เสรี พงศ์พิศ. คาทอลิคกับสังคมไทย สี่ศตวรรษแห่งคุณค่าและบทเรียน. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโกมลคีมทอง, ๒๕๒๗.

อาเดรียง โลเน่ย์. สยามและคณะมิชชันนารีฝรั่งเศส. แปลโดย ปทุมรัตน์ วงศ์ดนตรี, กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๒๘.

Laurent HENNEQUIN. “แหล่งข้อมูลและวิจัยเกี่ยวกับประเทศไทยในฝรั่งเศส”, แปลโดย กรรณิกา จรรย์แสง, อักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๑๘, (มิ.ย. ๓๘ - พ.ค. ๓๙): ๑๕๖-๑๖๗.

Adrien LAUNAY. Mémorial de la Société des MEP: deuxième partie : 1658-1913, Paris, 1916.

Archives Nationales. Fonds 50, No.3 Folio I. Instruction que le roy veut et ordonne estre remise entre les mains du Sieur Desfarges choisy par Sa Majesté pour commander les troupes qu’elle envoye au Roy de Siam l’année 1687.

Bibliotheque Nationale de Paris. Catalogue sommaire des manuscrits indiens, indochinois, malayo-polynésiens. n.d., n.p.

E.W.HUTCHINSON. 1688 Revolution in Siam. Hongkong : Hongkong University Press, 1968.

Hubert METHIVIER. Le siècle de Louis XIV. Paris : Presses Universitaires de France, 1994.

Le Mis De Croizier. Notice des Manuscrits Siamois de la Bibliothèque Nationale.1883.

Michel JACQ-HERGOUALCH. Etude historique et critique du livre de Simon de la Loubère “Du Royaume de Siam” - Paris 1691. Paris : Editions Recherche sur les Civilisations, 1987.

Morgan SPORTES. Ombres Siamoises. Paris: Edition Mobius, 1992.

Nicolas GERVAISE. Histoire Naturelle et Politique du Royaume de Siam. Paris : Claude Barbin, 1688.

แชร์ชวนกันอ่าน

แจ้งคำสะกดผิดและข้อผิดพลาด หรือคำแนะนำต่างๆ ได้ ที่นี่ค่ะ