คำศัพท์ |
|
เลขที่โคลง |
กกุสนธ |
ชื่อพระพุทธเจ้าองค์หนึ่งในภัทรกัป |
๑๕๒ |
กง |
ขอบล้อเกวียน วงล้อของเกวียน |
๓๓, ๔๓, ๔๔, ๙๔ |
กชกร |
มือต่างดอกมัว กระพุ่มมือ |
๑ |
กณฑล |
ตุ้มหู กำไล |
๑๖๒ |
กทลี |
ต้นกล้วย |
๑๓๑ |
กนทน |
ตุ้มหู |
๓๕ ข. |
กรอม |
คลุม |
๑๖๒ |
กระจาย |
พระสังขะจาย |
๑๔๑ |
กระพุ่ม |
พนมมือ |
๑๓ |
กริ่ง |
แคลงใจ |
๑๗๐ |
กล้า-ก๊า |
กระมัง |
๖๑ |
กลำพัก |
กระลำพัก ไม้หอมทำยา |
๗๙ |
กวม |
ครอบ |
๑๐๒, ๑๑๗, ๑๕๑, ๑๖๒ |
กว่า |
ไป (ไทใหญ่) |
๔, ๑๐๐, ๑๑๒ |
กว่า |
ใช้คู่กับเกวียน |
๕๐, ๖๖ |
กวาย |
ไกว |
๑๓๒ |
กวาว-กวาวทอง |
ต้นทองกวาว |
๔๐, ๖๑ |
กวิด |
มะขวิด |
๓๗ |
กวิว |
ต้นทองกวิว |
๔๐ |
ก่อม - กรอม |
เป็นวงโค้งเข้าหากัน |
๓๔ |
กอย |
|
(ดูคำอธิบายบทที่ ๑๔๓) |
กังรี |
นางเมรีในเรื่องพระรถเสน |
๗๔ |
กั้น- กลั้น |
อดอยาก |
๑๑๓, ๑๑๖, ๑๒๘ |
กันโลง |
โคลง |
๔, ๘๔, ๑๑๙ |
กันแสง |
ร้องไห้ |
๑๙ |
กั้ว - กลั้ว |
ผสม กวน |
๓๑ |
กัสสปา-กัสสปะ |
ชื่อพระพุทธเจ้าองค์หนึ่งในภัทรกัป |
๑๕๒ |
กาด |
ตลาด |
๗๗, ๑๔๗, |
กามาวจร |
โลกแห่งกามมี ๖ ชั้น |
๕ |
การ |
นายช่าง |
(ดูหมายเหตุท้ายเรื่อง) |
ก้ำ |
ทิศ ทาง ฝ่าย |
๑๐๐, ๑๒๓ |
กำเดา |
ร้อน |
๔๑, ๖๖ |
กำพน-กัมพล |
ผ้าขนสัตว์ ผ้าคาดเอว ส. ว่า ผ้าสีแดง |
๗๕, ๑๓๑ |
กิตติยุค-กฤตยุค |
ยุคทอง |
๑๗๙ |
กิ่น |
กลิ่น |
๔๒ |
กินรี |
คนครึ่งนกเพศหญิง |
๓๙, ๑๓๓ |
กิริยา |
ตัดจากกิริยาบุญ คือ การทำบุญ |
๑๑๕ |
กีบ |
กลีบ |
๓๘, ๑๐๑ |
กีนลืน |
กลืน |
๑๔๔ |
กุฎีคำ |
ชื่อเดิมของวัดธาตุคำ |
๑๓ |
กุฏาราม |
เรือนมียอด ชื่อเดิมของวัดเจดีย์หลวง |
๓๐ |
กุณฑล |
ตุ้มหู กำไล |
๑๖๒ |
กุโนช - กุโนด |
กรุณา |
๑๔๒, ๑๕๑ |
กุ้ม |
ดูคุ้ม |
๑๔๗ |
กุมกาม |
ชื่อเมืองระหว่างลำพูนกับเชียงใหม่ |
๔๔ |
กุมการ - กุมภการ |
ชื่อตัวนางจากชาดก |
๑๗๓ |
กุสราช - กุสสราช |
ชื่อตัวพระในชาดก |
๑๗๖ |
กู่ |
ที่บรรจุอัฐิ เจดีย์ |
๔๕ |
กู่คำ |
ชื่อเดืมของวัดเจดีย์เหลี่ยม |
๔๕ |
เกง - เก๋ง |
ระวัง ว่องไว ส. ว่า โล่ |
๘๘ |
เกล้า |
ที่ถูกคือ เก้า |
๑๒๔ |
เกล้าเกี้ยว |
ชื่อท่ารำดาบท่าหนึ่ง |
๘๘ |
เกลี่ยใกล้ |
แกล่ใกล้ |
๑๘ |
เกวง |
แกว่ง? |
๘๘ |
เกว๋น |
มะเกว๋น คือตะขบป่า |
๓๗ |
เกวียนก่อนชุม |
เกวียนหมู่ที่ไปก่อน |
๗๓,๘๗ |
เกศ |
ผม |
๑๑๖ |
เกศเกล้า |
ส. ว่า พระเกษเกล้าจุฬามณี |
๑๐๗ |
เกสนา |
ไม้กฤษณา |
๗๙ |
เกิ่ง |
กึ่ง |
๑๒๓ |
เกี๋ยงคำ |
ดอกลำเจียก |
๑๓๒ |
เกี้ยว |
รัดรอบ |
๓๔, ๑๓๒ |
แกม - แคม |
ใกล้ (อีสาน) ส. ว่า เกลือกกลั้ว |
๑๔ |
แก้ว |
หมายถึง ตัวนาง |
๔๔, ๔๘, ๑๑๓, ๑๑๔, ๑๖๐, ๑๖๒, ๑๗๒ |
แกว่น |
แก่น กล้า ชำนาญ |
๘๘ |
โกกิล-โกกี |
นกดุเหว่า |
๘๒ |
โกทัน |
เกาทัณฑ์ |
๑๓๑ |
โกนา – โกนาคมน์ |
ชื่อพระพุทธเจ้าองค์หนึ่งในภัทรกัป |
๑๕๒ |
คำศัพท์ |
|
เลขที่โคลง |
จง |
ตั้งใจ ปรารถนา จงใจ |
๖, ๑๒, ๒๓, ๒๘, ๑๒๘, ๑๖๙, ๑๗๑ |
จด |
สี่ |
๑๔๖ |
จวบ |
ประจวบ |
๓๒ |
จวบ (๒) |
จนถึง |
๗๓ |
จ่อง |
จูง เกาะหลัง |
๑๕, ๕๖ |
จอด |
ถึง จนกระทั่ง |
๙๔, ๙๘, ๑๖๙, ๑๗๑ |
จอดจั้ง |
ยั้ง หยุดพัก |
๗๓ |
จ้อน-เล็ก |
สั้น ทำให้สั้นเข้า น้อย แคระ |
๔๖, ๑๑๑, ๑๔๑, ๑๔๘, ๑๕๗ |
จ่อม |
หย่อนลงไป |
๑๖๒ |
จะบับ |
ฉบับ |
๓๕ ก. |
จักบอกบท |
จะดลบันดาลให้เป็นไป |
๑๕๓ |
จักร |
ตัดจาก จักรพรรดิ |
๑๐๔, ๑๐๘ |
จักราพาล |
ปริมณฑล จักรวาล |
๓ |
จั้ง |
ยั้ง หยุดพัก |
๗๓, ๙๔, ๑๔๘ |
จัน |
ลูกจัน |
๓๗ |
จัน (๒) |
ไม้จันทน์ |
๗๙ |
จ้าน |
นัก มาก |
๖๕. ๑๕๑ |
จามเท |
ตัดมาจาก พระนางจามเทวี |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๑๔๘) |
จำ |
กำหนด |
๓๐, ๑๒๙ |
จำ (๒) |
ทำให้ |
๕๙ |
จำงือ-ชำงือ |
ทุกข์ เจ็บ |
๗๒, ๘๒, ๙๘ |
จำนอง |
ผูก |
๑๒๙ |
จำเนียร |
นาน |
๑๑, ๑๒๙ |
จำลอง |
ชื่อต้นไม้? |
๓๗ |
จิ่ง |
จึ่ง |
๖, ๒๓ |
จิ่ม |
ด้วย ใกล้ |
๕, ๑๒, ๔๓, ๑๕๖ |
จี |
ไชทะลุ |
๓๓ |
จุก |
ส้มจุก |
๓๗ |
จุ่ง |
จง |
๓, ๑๔๒ |
จุดาศรี-จุฑาศรี-จุฬามณี |
พระเจดีย์อยู่สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ |
๑๐๗ |
จุฬาลักษณ์-จุพาสัก |
น่าจะเป็น จุฬาลักษณ์ หมายถึง มเหสีพระเจ้ามังรายมหาราช |
๔๗ |
จุม |
ดอกไม้ยังไม่ทันบาน |
๘๑ |
จุฬา |
หมายถึง ผูหญิง |
๒๙ |
จุฬาร |
น่าจะเป็น อุฬาร-ใหญ่ยิ่ง |
๑๒๒ |
เจ็ดลิน |
ชื่อวัด (ร้างไปแล้ว) |
๒๐ |
เจต |
ใจ |
๒๕, ๓๐, ๔๒, ๔๖, ๕๔, ๖๘, ๘๐, ๑๐๔, ๑๑๑, ๑๑๓, ๑๑๔, ๑๒๙, ๑๓๗, ๑๓๙, ๑๗๗ |
เจาะ |
จุด |
๘๔ |
เจียน |
จาก |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๒) , ๖, ๑๒, ๒๒, ๒๙, ๓๒, ๓๖, ๔๔, ๕๒, ๖๖, ๗๑, ๙๘, ๑๐๐, ๑๑๖, ๑๒๕, ๑๓๗, ๑๔๙, ๑๕๒, ๑๗๓, ๑๗๕, ๑๗๘ |
เจียม |
สรรพนามแทนผู้แต่งโคลง ตั้งแต่ (อีสาน) |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๓๖) ๖๖, ๗๒, ๑๕๖ |
เจื่องเจ้า |
เชื้อเจ้า |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๕), ๒๘. ๑๕๒ |
แจ่ง |
มุม |
๑๐๙ |
แจ้ง |
รุ่งสว่าง |
๙๔- ๑๖๗ |
โจก |
(โคลง) สี่ |
๑๑๙ |
คำศัพท์ |
|
เลขที่โคลง |
ชฎาธาร |
ผู้ทรงไว้ซึ่งผมเกล้าเป็นมวยสูงขึ้น |
๑๐๓ |
ชมพู |
หมายถึง ชมพูทวีป |
๕๕ |
ชม่อย |
งามอย่างชดช้อย |
๒๖, ๓๖ |
ชรลิ่ว |
ลิ่วไปไกล |
๓๖, ๔๓, ๑๕๔ |
ชฤา |
เช่นนั้นหรือ |
๑๓๓ |
ชล |
น้ำ |
๕๐ |
ชลไพร |
ริมน้ำ ส. ว่า น่าจะเป็น ชน (คน) ไป |
๙ |
ชลั่ง |
สล้าง |
๓๗ |
ชลั่งลาย |
ชลั่งชลาย ส. ว่า สะพรั่ง บริบูรณ์ |
๓๗ |
ชลาง |
ตะขาบ (ไทไหญ่) |
๑๓๕ |
ชลิ่ว |
ลิ่ว ไปไกล |
๓๖, ๔๓, ๑๕๔ |
ชเล |
ทะเล น้ำ |
๘, ๕๓ |
ชวด |
อด |
๑๔๙ |
ชวดช้าย |
ซวด-เอียงไป ซ้าย-เอน โย้ (อีสาน) |
๑๗๙ |
ช่อ |
ธง |
๓๔ |
ช่อฟ้า ฉฟ้า |
สวรรค์หกชั้น |
๒๒ |
ชอน |
เทียม ผูกเข้ากับ |
๙, ๘๗ |
ชอมช่อ-ซ่อมซ่อ |
ตั้งตาคอยดู (อีสาน) |
๒๓, ๖๐ |
ช้อย |
ส. ว่า มาจาก สร้อย แปลว่า งาม |
๑๐ |
ชัยบาน |
เครื่องดื่มเพื่อความมีชัย |
๑๔ |
ชา |
นะ |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๗๒), ๑๐๐ |
ช่างแต้ม |
ชื่อวัด |
๑๙ |
ชาติ |
ชนิด |
๘๘ |
ชาตินั้น |
เยี่ยงนั้น |
๑๑ |
ช้าย |
โย้ เอียง ตรงกับตะวันชาย |
๑๙, ๑๔๙ |
ชาเยศ |
ชายา เมีย |
๔๗ |
ชำพู |
หมายถึง ชมพูทวีป |
๕๕ |
ชิน |
ผู้ชนะ หมายถึง พระพุทธเจ้า |
๓, ๒๑, ๑๐๖, ๑๐๗, ๑๐๘, ๑๖๙, ๑๗๐, ๑๗๑ |
ชินธาตุ |
พระเจดีย์ |
๑๐๖, ๑๐๗, ๑๐๘, ๑๖๙, ๑๗๑ |
ชินบุตร |
พระสงฆ์ |
๙๔ |
ชินพิม |
พระพุทธรูป |
๔๖, ๑๒๑, ๑๕๕ |
ชินมาร |
ผู้ชนะมาร หมายถึง พระพุทธเจ้า |
๒๘ |
ชินรูป |
พระพุทธรูป |
๑๖ |
ชินํ - ชิน |
พระพุทธเจ้า |
๗๕ |
ชี – ชื่อ – ซือ |
แม้ว่า |
๙๔, ๙๙, ๑๔๔ |
ชื่น |
สิ้น |
๖๑ |
ชุน |
ไป เดิน |
๒๒, ๕๗, ๑๖๒ |
ชุม |
หมู่ |
๓๕ ข., ๕๖, ๖๑, ๗๓, ๘๗, ๙๔, ๑๒๐, ๑๖๐ |
ชุม (๒) |
ชุมนุม |
๘๑ |
ชู่ |
ทุก |
๖๔, ๑๒๔ |
ชู้ |
คนรัก คู่รัก |
๒๕, ๓๙, ๔๓, ๙๙, ๑๑๖, ๑๑๗ |
เชฐ - เชษฐ์ |
หมายถึง พระพุทธเจ้า |
๓, ๘, ๑๐, ๑๙, ๒๑, ๑๗๐, ๑๘๑ |
เช่น |
มากเหลือเกิน |
๒๑, ๒๕, ๔๙, ๗๘, ๗๙, ๘๙, ๑๑๓, ๑๒๐, ๑๓๓, ๑๔๖, ๑๔๗ |
เช่น (๒) |
ชั่วคน |
๔๕ |
เชิง |
ท่าที ท่า |
๗๑, ๘๘ |
เชิญชิน |
เชิงซิ่น? |
๑๓๓ |
เชียงสง |
ชื่อวัด (ร้างไปแล้ว) |
๒๓ |
เชียงใหม่ |
ชื่อประตูเมือง |
๒๔ |
เชียร |
ว่องไว |
๗๙ |
เชื่อม? |
|
๑๖๒ |
แชง |
รักษา ระวัง |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๑๒๘), ๑๒๙ |
โชตการ |
สว่าง |
๑๖๕ |
ใช่ |
ในที่นี้หมายความว่า ไม่ใช่ |
๒๙, ๔๔, ๑๒๘ |
ไช |
เยี่ยม |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๑๓๙) |
คำศัพท์ |
|
เลขที่โคลง |
ด้น |
ฝ่าไป |
๒๐ |
ดล |
ถึง |
๑๐, ๓๐, ๕๙, ๖๗, ๘๐, ๘๓, ๙๔, ๙๖, ๑๐๐, ๑๔๙, ๑๖๕, ๑๖๖ |
ดล (๒) |
บันดาล |
๙๑, ๙๕ |
ดวง |
คำเรียก ผู้หญิง พระพุทธเจ้า ดอกไม้ |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๕), ๖, ๗, ๒๑, ๔๐, ๔๒, ๖๒, ๖๗, ๑๐๐ |
ด้วย |
ตาม |
๑๕๕ |
ดัก |
ดิ่งลงไป (อีสาน) |
๕๐ |
ดังฤา |
เหตุใด |
๔๗, ๔๘ |
ดั้น |
ด้น ฝ่าไป |
๒๐ |
ดา |
จวน |
๘๐, ๑๓๗, ๑๕๙ |
ดาย |
เปล่า |
๖๐, ๑๖๔ |
ดารา |
ดวงดาว |
๑๖๐ |
ดาล |
เกิด |
๑๕๕ |
ดาวดึงส์ |
สวรรค์ชั้นที่สอง |
๑๐๘ |
ด่ำบล |
ดู ไทด่ำบล |
๑ |
ดำเรีย |
ช้าง |
๙, ๒๙ |
ดี |
สมควร |
๗ |
ดุ้ง |
สะดุ้ง |
๖๘ |
ดุสิดา |
นางสวรรค์ชั้นดุสิต |
๖ |
เดง |
กระดึงผูกคอวัว |
๓๕ |
เดน |
ใช้คู่กับ ดิน และ แดน ไทขาว แปลว่า เขตแดน |
๑๗๔ |
เดือด |
เดือดร้อน โกรธ |
๕๓, ๖๘, ๑๕๕, ๑๗๘, ๑๗๙ |
โดย |
ตาม |
๕๖, ๘๓, ๑๒๔, ๑๓๔ |
ได |
บันได |
๑๓๖ |
คำศัพท์ |
|
เลขที่โคลง |
ถมอ |
หิน |
๑๐๑, ๑๗๙ |
ถลิงถลา |
รีบด่วน ตรึงตรา ปกป้อง? |
๑๐, ๑๙, ๕๘, ๑๑๖ |
ถลุยเชิง |
ปล่อยชาย |
๓๕ ข. |
ถลู |
ดู ตรู |
๑๐๙ |
ถ้วย |
ส. ว่า ถ่วย ถอนหายใจ |
๑๓๗ |
ถ้อ |
ทร้อ – ซอล้อ |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๘๔) |
ถ่อง |
ประชัน |
๖๒ |
ถ้อง |
ส. ว่า โต้ตอบ ประชัน |
๐ |
ถ้อง (๒) |
แถวถ่อง (อีสาน) |
๕๕, ๑๑๙ |
ถ้อง (๓) |
แจ้ง ถี่ถ้วน (อีสาน) |
๘๖ |
ถ้อง (๔) |
ชัด ถูกต้อง |
๖๒, ๘๒, ๙๐ |
ถ่อม |
ใช้คู่กับ ถ้า คอย ส. ว่าติดตามมา ไทขาว ว่า เฝ้าคอยหา |
๖๓, ๗๒, ๘๑, ๑๖๓ |
ถ้อย |
แถว (อีสาน) |
๕๕ |
ถั่ง |
รีบเร่ง หลั่งไหล |
๑๑๗ |
ถ้า |
คอย |
๓๖, ๖๓, ๗๑, ๗๒, ๘๑, ๑๖๓ |
ถาบ |
ตราบ ด้าน |
๑๒, ๑๘๐ |
ถีบ |
เร่งรีบ (อีสาน); |
๕๐ |
ถุงเถิง |
อ. ว่า กรุ้มกริ่ม |
๓๕ ข. |
ถุย |
ปล่อย ส. ว่า เดินแซะเท้า |
๑๓๓ |
ถู |
ดู ตรู |
๑๗๗, ๑๗๙ |
เถิง |
ถึง |
๑๑, ๑๓, ๑๙, ๒๔, ๒๙, ๓๕ ข., ๔๔, ๖๗, ๗๗, ๘๑, ๘๖, ๙๔, ๑๐๕, ๑๐๙, ๑๑๖, ๑๒๑, ๑๓๗, ๑๔๗, ๑๖๗, ๑๘๐ |
เถียง |
โรงนา |
๒๙ |
เถี่ยง |
ประกวด |
๑๑๙ |
เถียงเส่า |
ชื่อวัดร้าง |
๒๙ |
แถถี? |
|
๕๙ |
แถม |
เพิ่ม |
๕๓, ๙๘ |
แถมถนอม |
ส. ว่า ทวีคูณ |
๕๓, ๙๘ |
คำศัพท์ |
|
เลขที่โคลง |
ท่ง |
ทุ่ง |
๙๗ |
ทยา |
เอาใจใส่ กรุณา |
๑๒๐ |
ทยิดา |
เป็นที่รัก คู่รัก |
๕๘ |
ทเยศ |
ใจ |
(ดูคำอธิบาย ไท บทที่ ๒๙), ๖๖ |
ทรมาน |
เมื่อ (พระพุทธองค์) ยังทรงพระชนม์ชีพอยู่ |
(ดูบทที่ ๑๗) |
ทร้อ |
ซอล้อ |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๘๔) |
ทวง |
ทรวง |
๒๒, ๒๗, ๘๒, ๙๒ |
ทวยหาร |
ท้ายห่าน ดอกมหาหงส์ |
๑๖๕ |
ทวาย |
ทาย |
๓๙ |
ทาย |
ยก |
๑๐๔ |
ทวาร |
ประตู |
๒๑, ๒๕, ๓๒, ๑๐๑, ๑๐๕ |
ทศมน |
ทศมณฑล สิบแคว้น |
๑๐๗, ๑๔๘ |
ทศลักษณ์ (เกษตร) |
ล้าน (นา) |
๑๐๘ |
ท่อ |
ทางระบายน้ำ |
๖๔ |
ทอง |
ทองเหลือง ทองแดง |
๑๐๙ |
ท่อนแต้ม |
เขียนรูปเพียงบางส่วน |
๓๕ ข. |
ทะง่อง |
ตระง่อง จ้อง คอย |
๔๔ |
ทะเจียก |
กรรเจียก หู ดอกไม้ทัด (เขมร-ตรฺเจยก) |
๑๖๒ |
ทักขิณ |
ทานเพื่อผลอันเจริญ |
๑๖๘ |
ทักขิณา |
ไทยธรรมถวายพระ |
๑๑๕, ๑๖๘ |
ทัง |
ทั้ง |
๓๕ก., ๕๑, ๕๓, ๖๑, ๘๘, ๙๗, ๑๑๕, ๑๑๖, ๑๕๑, ๑๖๕, ๑๖๘, ๑๗๑ |
ทัด – ตั๊ด |
ตรงกัน ประจวบกัน |
๙๐, (ข) |
ทันที |
โคลงจัตวาทัณฑี ? |
๑๑๙ |
ทายกร |
ยกมือ |
๑๐๔ |
ท้าว - เท้า |
ถึง |
๑๐๕, ๑๐๖ |
ท้าว |
กษัตริย์ |
๔๕ |
ทำนวาย |
ทำนาย ชี้ บ่ง |
๔๘ |
ทิชา |
นก |
๘๓ |
ทินา - ทิน |
วัน |
๒๗ |
ทิพ |
คนรักของผู้แต่งชื่อว่า นางศรีทิพ |
๗, ๑๑, ๑๙, ๒๐, ๔๑, ๖๔, ๖๗, ๗๘, ๘๑, ๑๑๑, ๑๔๑, ๑๘๐ |
ทิพญา ทิพยา |
ตัดมาจาก ทิพญาธร ซึ่งตรงกับ พิทยาธร |
๖๐ |
ทิพมาลย์ |
หมายถึง ผู้หญิง |
๓๖ |
ทิพารม |
หมายถึง นางที่รัก |
๑๑๓, ๑๑๔ |
ทิโพชา |
ทิพ + โอชา |
๑๒๑ |
ทิวา |
วัน |
๒๗, ๑๑๐ |
ทีป |
ประทีป |
๑๕, ๘๔, ๑๑๕, ๑๒๓, ๑๗๑ |
ทึก |
น้ำ |
๕๑ |
ทุง |
ธง |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๑๕), ๑๑๕, ๑๒๓, ๑๔๑, ๑๔๓ |
ทุงยู |
ชื่อวัด |
๑๒ |
ทุม |
ทิ้ง (พายัพ) |
๑๑๙, ๑๓๐ |
ทุรา |
ไกล |
๔๒, ๙๓, ๑๔๐, ๑๔๖ |
ทุเร |
ไกล |
๑๗๖ |
ทู |
ทุกข์ เดือดร้อน |
๕๔ |
ทู (๒) |
(โคลง) สอง |
๑๑๙ |
เททรวง |
เปิดอก เปิดใจ |
๑๙, ๒๖, ๑๓๙ |
เทศ |
เทศน์ ? |
๙๔ |
เทอะ |
เถิด |
๓๙, ๑๒๑ |
เทา |
เดิน |
๑๐ |
เทา-เท่า |
ได้แต่ แต่ เพียงแต่ |
๔๔, ๙๖, ๑๐๐, ๑๐๗, ๑๓๗, ๑๓๘, ๑๔๐, ๑๔๑, ๑๔๕, ๑๕๐, ๑๖๔, ๑๗๑ |
เท่าเว้น |
เว้นแต่ |
๑๐๗ |
เท้า |
ตราบเท่า |
๕๗, ๑๐๕, ๑๐๖, ๑๐๗ |
เทาะแทะ |
เตาะแตะ |
๙๖, ๑๓๕ |
เทิง - เถิง |
ถึง |
๕๗, ๖๔, ๗๗, ๑๑๗, ๑๔๗ |
เทิง - เติง |
เมา |
๔๙, ๑๔๗ |
บน |
|
๗๗ |
เทิน เทิ้น |
เทอญ |
๑๗, ๓๙, ๑๒๑ |
เที่ยง |
แน่แท้ |
๙๐, ๑๕๔ |
เทียม |
เคียงกับ |
๙๐, ๑๐๙, ๑๓๘ |
เทียม (๒) |
เท่ากับ |
๑๔, ๔๖, ๑๐๐, ๑๐๘, ๑๑๔, ๑๕๖ |
เทียมแทก |
(สูง) เท่า |
๑๗ |
เทียว |
เดิน |
๑๓, ๓๕ ข., ๖๔, ๙๐, ๙๔, ๙๖ |
เทียยไท |
เจ้าไทย พระสงฆ์ |
๙๔ |
เทียะ |
ส. ว่า กรีดกราย |
๓๕ ข. |
เทือ – เทื่อ |
ครั้ง |
๑๗, ๑๖๙, ๑๗๙ |
เทื้อ |
เถิด |
๘๓ |
แทก |
เท่า วัด |
๑๗, ๓๔, ๙๙, ๑๐๐, ๑๐๘, ๑๑๔, ๑๒๓, ๑๖๔ |
แทบ |
ส. ว่า ปิด (ทอง) |
๑๐๙ |
โทก |
ทูบ |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๓๕), ๓๕ ข. |
ไท |
หฤทัย ใจ |
((ดูคำอธิบายบทที่ ๒๙), ๗๓ |
ไท (๒) |
ผู้เป็นใหญ่ |
๕๙ |
ไท้ |
ผู้เป็นใหญ่ |
๑๖, ๒๕, ๑๐๓, ๑๑๑, ๑๑๓, ๑๑๔ |
ไทด่ำบล-ไทยตำบล |
หนไทย แบบไทย |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๑) |
คำศัพท์ |
|
เลขที่โคลง |
นง |
นาง |
๓๐, ๑๖๔, ๑๗๖, ๑๗๗ |
นงคราญ |
นางงาม |
๓๖ |
นงราม |
นางงาม |
๔๔ |
นงวัย |
หมายถึง นาง |
๑๓๙ |
นที |
แม่น้ำ |
๕๐, ๗๑, ๗๕ |
นนตรี |
ดนตรี |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๘๔) |
นพคุณ |
ทองเนื้อเก้า หมายถึง นาง |
๘๒ |
นพบุร |
เชียงใหม่ มีชื่อเต็มว่า นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ |
๘ |
นพมาน |
หมายถึง ผู้หญิง |
๓๖, ๑๖๑ |
นยนา |
ตา |
๗๙ |
นวย |
น้อมลง |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๑๗๙) |
น้อ |
หนอ |
๑๖๕ |
น่อย |
น้อย |
๒๗ |
นักคุณ |
นักดนตรี ศิลปิน |
๑๓๔ |
นักนิ่น -นักนิ่ม |
หมายถึง นาง |
๘๖ |
นักษัตรทั้งเก้า |
ดาวนพเคราะห์คือ อาทิตย์ จันทร์อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ ราหู เกตุ |
๑๒๖ |
นัครา |
นคร |
๙๘, ๑๔๘ |
นัน |
นั้น |
๓๙, ๕๖, ๙๐, ๑๕๕, ๑๗๓, ๑๗๔, ๑๗๖ |
นา |
นะ |
๙๓ |
น่าน้อง |
นะน้อง |
๕๕, ๙๓ |
น่างรั้ว |
ชื่อเดิมของวัดยางกวง |
๓๑ |
นาฏ นาถ |
หมายถึง ตัวนาง |
๔๔, ๔๕, ๗๔, ๙๒, ๙๓, ๑๑๓, ๑๑๔, ๑๒๐, ๑๒๘, ๑๓๖, ๑๓๘, ๑๔๐, ๑๕๙, ๑๖๓, ๑๖๖, ๑๖๘ |
น่าน |
เขตน้ำ |
๙, ๕๑, ๕๓, ๗๕ |
นาภี |
ท้อง |
๑๔๑ |
นาย |
ทางเหนือใข้เรียกสตรีได้ |
(ดูบทที่ ๑๕) |
นาสา |
ตัวไม้เบื้องบนประตู |
๒๒ |
นิ |
นี้ |
๙๓ |
นิโครธ |
ต้นไทร |
๑๖๕ |
นิดนั่ง |
นั่ง นั่งอยู่ |
๑๖๗ |
นิดสนาม |
ส. ว่า ตั้งอยู่ |
๒๑ |
นิรม |
เข้าใจว่า สนุก สบาย สิ่งซึ่งน่าสนุกสบาย |
๔๐, ๕๒, ๖๒, ๗๒, ๙๖, |
นิรม (๒) |
บางทีหมายถึง นางคู่รัก |
๑๑๑, ๑๔๙ |
นิราราม |
ไม่มีความรื่นรมย์ |
๑๕๖ |
นิราศ |
พรากจากไป |
๔, ๗๐, ๑๗๔, ๑๗๖ |
นิโรธ |
ดับสูญ นิพพาน |
๑๕๓ |
นิสา |
กลางคืน |
๑๑๓ |
นี |
นี้ |
๔, ๒๕, ๔๙, ๕๖, ๑๖๖, ๑๖๗, ๑๖๘, ๑๗๙ |
นึ่ง |
หนึ่ง |
๑๖, ๒๑ |
นุช |
น้อง |
๔ |
นูเนือ - นูเนือก |
ย้าย ย่าง ลีลา งาม (ลาว) ในที่นี้ โอนเอน ? |
๙๐, ๑๓๒ |
เนก |
มาก |
๑๖๐ |
เน่ง |
นิ่ง แน่ ตรงพอดี |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๓๔), ๘๗, ๙๗, ๑๐๕ |
เนตรบ้าง |
หมายถึง พระจันทร์แหว่ง (ข้างแรม) |
๒ |
เนสาท |
พรานป่า |
๖๘ |
เนา |
อยู่ |
๗๗ |
เนิง |
เนืองนอง |
๗๗ |
เนิ้ง |
เอน ตกท้องช้าง |
(ดูคำอธิบาย เนือง ๆ บทที่ ๓๗), ๑๗๙ |
เนิ้น |
โน้น นานมาแล้ว |
๑๗ |
เนียน |
แนบสนิท |
๑๖๒ |
เนื้อน้ำ |
เหงื่อ |
๑๓๒ |
เนือง |
มาก |
๗๗ |
เนืองเนือง |
เอน ? มากมาย ? |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๓๗) |
ไน่ |
เปื่อย ยุ่ย |
๑๓๙ |
คำศัพท์ |
|
เลขที่โคลง |
บ-บ่ |
ไม่ |
๑๔, ๒๓, ๒๗, ๓๑, ๓๒, ๓๖, ๔๑, ๔๒, ๔๔, ๕๙, ๖๐, ๘๔, ๑๑๐, ๑๑๑, ๑๑๓, ๑๒๐, ๑๓๘, ๑๓๙, ๑๔๓, ๑๔๙, ๑๕๖, ๑๖๖, ๑๖๗, ๑๖๙, ๑๗๑, ๑๗๖ |
บก |
บาง พร่อง |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๕๒) |
บ่เกือ |
บอกเกลือ |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๑๔๓) |
บง |
ไมไผ่ชนิดหนึ่ง |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๙๐) |
บด |
มืด บังแสง |
๙ |
บพิตร |
พระองค์ท่าน |
๕๘ |
บรเม |
ชื่อตัวพระในชาดก |
๑๗๒ |
บรรทวาย - ประทาย |
ค่าย ป้อม |
๑๐๕ |
บริเยศ |
คนรัก |
๑๑๑ |
บริษัท |
หมู่คนแวดล้อม |
๑๑๐ |
บอกบท |
สั่งให้เป็นไป |
๑๕๓ |
บ่อแร้ว |
โพงตักน้ำ |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๙๕) |
บักชื่อ |
สลักชื่อ บันทึก |
๑๒๗ |
บั้ง |
ตอน ระยะ |
๓๓ |
บั้งบาด |
อาณาเขต |
๓๓ |
บัดเดี่ยว |
ประเดี๋ยว |
๑๖๙ |
บัน |
หน้าจั่ว |
๑๑๒ |
บัวระวัน-บัวระมวล |
บริบูรณ์ |
๑๑๒ |
บัวริเยศ |
ปริย ที่รัก |
๖๐ |
บา |
ชายหนุ่ม |
๑๐, ๒๕, ๒๖, ๔๑, ๑๔๒, ๑๗๘ (และดู บุญบา) |
บ่า |
หว่า ว้าเหว่ เศร้า |
๒๖ |
บ้าง |
แหว่ง เดือนบ้าง-พระจันทร์ข้างแรม |
๒ |
บางบาท |
บางบท |
๑๓๕ |
บาน |
เครื่องดื่ม คงหมายถึง ของกิน |
๒๘ |
บ่าย |
เกยกัน ทับกัน |
๒๗ |
บารส |
ชื่อตัวพระในชาดก |
๑๑๙ |
บ่าว |
ชายหนุ่ม |
๕๖, ๑๑๐, ๑๑๓, ๑๔๙ |
บำราศ |
พรากไป |
๔ |
บำเริน |
บำเรอ |
๗๘ |
บุญบา |
ตัดมาจาก บุญบารมี |
๕ |
บุญหนา |
ใช้เรียกผู้หญิง |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๒๖) |
บุณณมี |
วันเพ็ญ |
๑๖๘ |
บุพพัณห์ |
เวลาเช้า |
๑๔๗ |
บูรพา |
ทิศตะวันออก |
๑๕๙ |
บูรเพ |
ก่อน |
๑๗๑, ๑๗๕ |
เบงจา เบญจา |
ตัดมาจาก เบญจางคประดิษฐ์ |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๑๐), ๑๗๒ |
เบงจา เบญจา (๒) |
ศีลห้า |
๑๒๙ |
เบงบาท |
โคลงห้า |
๑๑๙ |
เบญจา |
ศีลห้า |
๑๑, ๑๒๔ |
เบ่น |
ผินหน้า เบน |
๑๔๔ |
เบิก |
นำมา |
๑๕๑ |
เบี้ยว |
มองไปข้างๆ |
๑๔๔ |
เบื้อง |
ข้าง ลักษณนามของตา |
๒๓, ๑๔๔ |
เบื้อง (๒) |
ฝ่าย |
๒๕ |
เบื้อง (๓) |
ครั้ง |
๑๗๑, ๑๗๕ |
แบกปลอน - แบกพร ? |
จบของส่งถวาย ? ฉบับหนึ่งว่า เผือกพอน แปลว่า ขาว |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๑๕๘) |
โบก ? |
|
๕๒ |
คำศัพท์ |
|
เลขที่โคลง |
ปก |
ใช้คู่กับ แปง แปลว่า สร้าง ปลูกสร้าง |
๖๔ |
ปก (๒) |
ใช้คู่กับ ป่าว แปลว่า ประกาศ |
๑๖๐ |
ปฏิมา |
พระพุทธรูป |
๑๔๒ |
ปณิธา - ปณิธาน |
ตั้งความปรารถนา |
๑๒๒, ๑๖๘ |
ปด |
ปลด |
๑๑, ๕๔, ๑๐๓ |
ปด |
โปรด |
๑๗ |
ปถพี |
พื้นดิน |
๓๗, ๕๙, ๖๑ |
ประการ |
ปราการ กำแพง |
๒๔ |
ประจิม |
ทิศตะวันตก |
๑๔๖ |
ประทาย |
ค่าย ป้อม |
๑๐๕ |
ประเหียล |
ประหนึ่ง คล้าย |
๕๕, ๑๒๕, ๑๖๔ |
ปราการ |
กำแพง |
๒๔ |
ปราเกียน |
ปราการ ชื่อวัดชัยพระเกียรติ |
๑๒ |
ปราจีน |
ทิศตะวันออก |
๑๔๖ |
ปราโมช – ปราโมทย์ |
ยินดี |
๕๖ |
ปราสัย |
แสดงการอ่อนน้อม พูด |
๑๑๗, ๑๒๐ |
ปลง |
ลง |
๕๖, ๑๖๐ |
ปลอน |
ดูแบกปลอน |
๑๕๘ |
ปลอมแปลก |
เข้ามาปนอยู่ |
๒๑ |
ปล่าน |
ทำ แต่ง |
๑ |
ป้อ |
พอกพูน |
๘๔ |
ปะภา |
ดู ปัพภา |
๑๗๕ |
ปักษี |
นก |
๖๑, ๘๐, ๘๑ |
ปัง |
ตอบ |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๑๕๑) |
ปัจจุบัน |
ในชาตินี้ |
๑๒๕ |
ปัพภา |
นางจีรประภาในเรื่องพระสุธนู |
๑๗๕ |
ปั้น? |
|
๑๕๔ |
ปาง |
ครั้ง |
๑๖๗ |
ปาจีน |
ปราจีน ทิศตะวันออก |
๑๔๖ |
ปาณสัตว์ |
สัตว์ที่มีชีวิต |
๑๑๐ |
ปาน |
เปรียบเท่า |
๕๐, ๕๕, ๕๗, ๑๐๕, ๑๐๗, ๑๑๘, ๑๔๔, ๑๖๑ |
ป่าน |
แต่ง ทำ |
๑, ๑๘๐ |
ปานนี้ |
ป่านนี้ |
๘๖, ๑๑๑ |
ปิ่น |
เป็นเครื่องเชิดชูหน้าตา |
๒๑ |
ปีคู่ |
เกิดปีระกา ปีคู่เป็นไก่ เป็นต้น ส. ว่า คู่อายุ เท่าอายุ |
๑๑๕ |
ปุณณมี-บุญญะมี |
วันเพ็ญ |
๘ |
ปุน |
น่า |
๓๘, ๖๓, ๗๐, ๘๘, ๘๙, ๑๓๒, ๑๓๖, ๑๕๕, ๑๖๒, ๑๖๖, ๑๘๐, ๑๘๑ |
ปุริพาน |
บริวาร |
๑๕๙ |
ปูก |
ใช้คู่กับ แปง ปลูกสร้าง |
๖๔ |
ปูน |
ให้รางวัล |
๑๒๗ |
ปูชา |
บูชา |
๑๑๕, ๑๕๔ |
เป่ง-เปล่ง |
อยู่ในที่กลางแจ้ง ส่งแสง |
๕๘, ๑๐๖ |
เป้า |
ปีฉลู |
(ดูบทที่ ๑) |
เป้า (๒) |
ชื่อนกชนิดหนึ่ง ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง |
๘๓ |
เปี่ยนเปล่า |
เปลี่ยวเปล่า |
๘๖, ๑๒๐, ๑๕๐ |
เปียว |
เปลว |
๕๘, ๑๐๖ |
เปือง - เปลือง |
มาก |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๘๔) |
เปื่อน |
ละเอียด กระสับกระส่าย ทุรนทุราย |
๔๓, ๑๔๙ |
แปก |
ที่ถูกเป็น แปด |
๑๒๔ |
แปง – แปลง |
ทำ สร้าง |
๑๐, ๓๒, ๖๔, ๑๐๔, ๑๑๑, ๑๒๔, ๑๒๙, ๑๘๐ |
แปร |
หัน |
๖๖ |
แปลง |
สร้าง ทำ |
๔๕, ๑๖๓ |
ไป่ |
ไม่ |
๕๐ |
คำศัพท์ |
|
เลขที่โคลง |
พ้น |
เกิน |
๕๐ |
พนม |
เขา |
๗๐, ๗๓ |
พนาลัย |
ป่า |
๖๘ |
พนิก |
เป็นชั้นๆ ทิวแถว |
๗๓ |
พนิดา |
หญิงสาว |
๑๑๔ |
พร่อง |
บ้าง |
๑๘, ๘๓, ๑๕๕ |
พระเจ้า |
พระพุทธเจ้า |
๖๕, ๑๔๘ |
พระไทร |
เทวดารักษาต้นไทร |
๕๔ |
พระพริบ |
พริบๆ เสียงไฟไหม้ |
๖๘ |
พระพลัด |
พลัดพลัด |
๗๔ |
พระเมรุ |
เขาพระสุเมรุ |
๑๗๙ |
พระหาร |
พิหาร |
๑๒๒ |
พระอาไรย |
พระศรีอาริยเมตไตรย |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๖), ๑๕๓ |
พร่ำ |
พร้อม |
๑๐ |
พริบ |
ชั่วกะพริบตา ลุกพรึบ |
๗๐ |
พรี้ |
พี้ นี้ |
๗, ๑๗, ๕๑ |
พฤกษ์ |
ต้นไม้ |
๕๑, ๖๘, ๗๐, ๗๑ |
พลับ |
มะพลับ ในที่นี้หมายถึง นม |
๕๗, ๑๓๑ |
พลาน |
พระลาน ผืนแผ่นดินโล่ง |
๙๖, ๑๖๐ |
พลิบ |
ชั่วกะพริบตา |
๗๐ |
พลิพัท |
โคผู้ |
๓๕ |
พลิราช? |
|
๑๗๓ |
พ่วง |
พะวง ห่วง |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๑๕๓) |
พอคู่ |
ครบคู่ |
๑๔๕ |
พอพัน |
ถึงพัน |
๑๒๑ |
พ้อง – ผ้อง |
บ้าง |
๕๑ |
พ้อม |
พร้อม |
๕๙, ๙๑ |
พอย |
พลัดพราก ไร้คู่ โดดเดี่ยว |
๑๒๐, ๑๔๓ |
พะงา |
นางงาม |
๒๓, ๔๔, ๑๐๗, ๑๓๗, ๑๖๔, ๑๗๗ |
พะทีป |
ประทีป |
๑๑๑ |
พะหาร |
พิหาร |
๑๐๙ |
พัด |
น่าจะเป็น พัสตร์ ผ้า |
๓๕ |
พัตตมาน-พัทมาร |
น่าจะเป็น พัทธ์ ผูกพัน และ มาน ใจ |
๗ |
พัตร |
ผ้า |
๕๗ |
พันง้อม |
ชื่อวัดซึ่งร้างไปนานแล้ว |
๒๘ |
พันตา |
พระอินทร์ |
๑๑๖, ๑๗๑ |
พันรังสี |
พระอาทิตย์ |
๓๓ |
พาน |
ส. ว่าพัน เกาะเกี่ยว |
๗๕, ๑๖๑ |
พ่าว? |
|
๙๑ |
พิง |
แม่น้ำปิง |
๔๙, ๑๔๙ |
พิงเก่า |
แม่น้ำปิงทางเดิม |
๗๓ |
พิงเจต |
เป็นที่พักพิงของใจ? |
๔๖ |
พิทักษ์ |
ดูแลคุ้มครอง |
๑๔, ๓๐ |
พินทู |
นางพินธุมดี ในเรื่องสมุทรโฆษ |
๑๗๕ |
พิโมกข์-พิโมข |
พ้น เปลื้อง ชื่อพระนิพพาน |
๑๕๕ |
พิโยค |
พลัดพราก |
๑๒๕, ๑๗๕ |
พิศเรก |
พิษแทรก |
(ดูบทที่ ๘๒) |
พิสดาร |
กว้างขวาง |
๑๒๒ |
พิสัย |
เขต ดู สุดพิสัย |
๙๗ |
พิสัยตา |
สุดสายตา |
๕๕ |
พี |
ดู ไพรพี |
๕๕, ๖๘ |
พื้น |
ชั้น |
๑๒ |
พุทธังกูร |
ผู้จะมาเป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต |
๑๑๗ |
พุ่น |
ส่วน กอง |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๑๒๔) |
พูน พู้น |
นู้น โน้น |
๕๙, ๖๗, ๑๑๑ |
เพ็ง |
เพ็ญ |
๑๒๘ |
เพณี |
มวยผม |
๑๖๒ |
เพย |
พัด รำเพย |
๓๔ |
เพยีย |
พเยีย พวงดอกไม้ |
๖๓ |
เพรง |
ก่อน |
๑๘๑ |
เพลา |
ในที่นี้ ขา |
๕๗ |
เพา |
งาม ส. ว่า เพลา เบาบาง |
๕๔, ๗๐, ๙๐, ๑๑๒ |
เพา (๒) |
เพรา ข้าวเย็น |
๑๑๖ |
เพาโพธิ์ |
พระพุทธเจ้าพระองค์สุดท้าย (เขมร) |
๑๒๑ |
เพิก |
เบิก ถลกออก เปิด |
๓๔, ๑๓๑ |
เพิง-เพิ้ง |
พึง พอใจ |
๔๖, ๑๓๑, ๑๖๑ |
เพีย |
ถ้าเป็น เพียะ – อวด เปรียบ ถ้าเป็น พเยีย – พวงดอกไม้ |
๔๒ |
เพียง |
เสมอ ประหนึ่ง ราบเรียบ |
๑๓๑, ๑๔๙ |
เพี้ยง |
เพียง |
๑๐๖, ๑๒๑ |
เพียญชน์ |
พยัญชนะ กับข้าว |
๑๒๘, ๑๕๔, ๑๖๙ |
เพียะเพียะ |
เสียงไฟไหม้ |
๑๖๖ |
เพื่อ |
เพราะ |
๑๖๗, ๑๗๗ |
แพง |
แปง ทำ |
๑๓๔, ๑๓๗ |
แพง |
รัก หวง |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๑๑๔), ๑๑๓ |
แพ่ง |
งาม |
๑๓๑, ๑๖๑ |
แพระ |
แพะ ป่าละเมาะ (พายัพ) |
๙๖ |
โพธ |
งาม |
๑๒๑ |
โพธิไญยญาณ |
ตรัสรู้ ญาณที่ควรรู้ หมายถึง พระพุทธเจ้า |
๑๗ |
โพ้น |
โน้น |
๗, ๖๗, ๙๗, ๑๒๐ |
โพย |
ภัย |
๑๕๗ |
โพละ |
โพ้ แตก? |
๗๐ |
ไพ |
ไป |
๕๕, ๑๓๔ |
ไพคต |
ไพรพรต? |
๘๗ |
ไพรพี |
ป่าดงพงพี |
๕๕, ๖๘ |
ไพรแพระ |
ป่าละเมาะ |
๙๖ |
ไพรโรจ |
ไพโรธ พิโรธ |
๗๑ |
คำศัพท์ |
|
เลขที่โคลง |
มกุฎ |
มงกุฎ |
๑๖๒ |
มณฑป |
เรือนยอดซึ่งมีรูปสี่เหลี่ยม |
๑๔๓ |
มณฑล |
วง ขอบเขต |
๑๑๒ |
มนดก |
มณฑป |
๑๔๓ |
มนดน |
มณฑล |
๑๑๒ |
มโน |
ใจ |
๗๔ |
มยัก |
มลัก มอง ดู เห็น |
๗๙ |
มร |
ตาย |
๗๔, ๙๙, ๑๗๔, ๑๗๘ |
มรรคา |
ทาง |
๒๑, ๖๕, ๑๘๑ |
มล้าง |
ม้าง ทำลาย |
๑๕๓ |
ม่วน |
สนุก |
๖๔, ๘๔, ๑๕๒, ๑๖๖ |
มหากระจาย |
พระสังขะจาย |
๑๔๑ |
มหาอาวาส |
ส. ว่า หมายถึง วัดเจดีย์หลวง |
๑๖ |
มเหสักข์ |
ที่กล่าวกันว่าเป็นเจ้าใหญ่ |
๒๕ |
ม่อน |
ตัวฉัน |
๓, ๑๔, ๕๑, ๖๔, ๖๘, ๑๕๒, ๑๗๘, (ข) |
มัคคา |
ทาง |
๓๕ ข., ๑๔๕ |
มังราช |
พระเจ้ามังรายมหาราช |
๑๕, ๔๗ |
มังราย |
พระเจ้ามังรายมหาราช |
๑๕, ๔๕, ๔๘, ๑๐๒ |
มัว-มั่ว |
มึนเมา หลงรัก |
๓ |
มัวรส |
มึนเมารสรัก |
๓ |
ม้าง-มล้าง |
ทำลาย ทำให้หมดไป |
๑๕๓, ๑๕๕ |
มาด |
หมาด ภาวะอึดอัด จะเปียกก็ไม่เปียก จะแห้งก็ไม่แห้ง |
๕๙ |
ม่าน |
พม่า |
๘๘ |
ม้าน |
เหี่ยว |
๔๐, ๕๒ |
มาย |
คลาย ถอน |
๑๗๒ |
ม่าย |
ชม้อยตา |
๑๑๓, ๑๔๔, ๑๔๕ |
มาล |
มาลา ดอกไม้ |
๓๙ |
มาลี |
โคลงวิวิธมาลี ? ส. ว่าระเบียบ (การแต่งโคลง) |
๑๑๙ |
มาส |
เดือน |
๘ |
มาสรี |
มารศรี |
๕๙ |
มิคราช |
ราชสีห์ ในที่นี้ สิงโต |
๑๔๔ |
มิด |
มืด |
๒ |
มี่ |
มิ |
๑๐๐ |
มื้อ |
วัน (อีสาน) คราว |
๘, ๑๖๘ |
มุข |
ส่วนของเรือนที่ยื่นออกมาด้านหน้า |
๑๐๑ |
มุขมาศ |
ส่วนของอารามที่ยื่นออกมาทำด้วยทอง |
๒๒ |
มุนี |
พระสงฆ์ ในที่นี้ พระพุทธเจ้า |
๑๔๓ |
มุนี (๒) |
ฤาษี |
๑๔๙ |
เม่ |
แม่ |
๓๖, ๑๒๐, ๑๓๓, ๑๕๐ |
เมฆ |
กำแพงเมือง ส. ว่า ใบเสมา |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๑๐๑) |
เม็ง |
มอญ |
๒, ๘๘ |
เม็ด |
ชื่อวันหนไทย |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๒) |
เม็ด |
น้อยนิด เช่นไปหาบ่ได้สักเหม็ด |
๑๑๐ |
เมทนิ |
แผ่นดิน |
๑๑๘ |
เมา (รัก) |
หลงรัก |
๑๙, ๑๗๘ |
เมิงเป้า |
ปีฉลู นพศก |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๑) |
เมิน - เมิ้น |
นาน |
๔๕, ๖๐, ๑๘๑ |
เมียง |
ชำเลืองมอง |
๕๕, ๕๗, ๑๑๓ |
เมียงม่าย |
ชำเลือง กรีดกรายไปมา |
๑๑๓, ๑๔๔ |
เมี้ยน |
หมด |
๑๖๘ |
เมื้อ-เมือ |
ไป |
๑๕, ๒๕. ๕๒. ๕๙, ๑๓๙, ๑๕๕ |
เมืองพิง |
เมืองบนแม่น้ำพิง หมายถึง ลำพูน |
๑๕๙ |
แม่ง |
พราก รื้อ |
๔๘, ๑๗๖ |
แม่ง (๒) |
ครู่หนึ่ง |
๑๖๕ |
แม่งม้าง |
เริดร้าง พลัดพราก |
๑๗๒, ๑๗๕ |
แม่น |
ถูก ตรงกับ |
๒, ๑๖๗, ๑๖๘ |
แม้น |
แม้ |
๑๑๐ |
โมข |
การรอดพ้น นิพพาน |
๑๕๓ |
โมด |
มอด ตาย |
๑๓๗, ๑๕๓, ๑๗๔ |
โมทนา |
การพลอยยินดี |
๑๖๘ |
โมเรศ |
นกยูง |
๘๑ |
โมลี |
ยอดผมจุก |
๑๗๒ |
คำศัพท์ |
|
เลขที่โคลง |
ยกย้าย |
เดิน ไป |
๘, ๘๗ |
ยล |
ดู |
๑๗, ๒๒, ๓๖, ๔๒, ๔๙, ๕๕, ๖๑, ๙๒, ๙๓, ๙๗, ๑๐๔, ๑๑๒, ๑๓๔, ๑๔๐, ๑๔๗, ๑๕๙, ๑๖๒, ๑๖๓, ๑๖๔ |
ยลคืน |
มองกลับ |
๕๕ |
ยวน |
ส. ว่า อ่อน ละเอียด |
๔๓ |
ยวย |
ถ้า ยวาย ก้าวย่างไป ถ้า ย้วย เดินตามกันช้าๆ |
๑๔๔ |
ยว้าย – ยว้ายแย้ม |
ยิ้มแย้ม |
๓๕ ข., ๕๖ |
ยอ |
ยก |
๑๓๓ |
ยอง |
วางบน |
๑๐๙ |
ย่อง-หย้อง |
ประดับ แต่งตัว |
๑๑๔ |
ย้อน |
ด้วยเหตุ |
๑๖๒ |
ยอริยาตร |
ยุรยาตร |
๑๓๐ |
ยะเยือก |
เยือกเยือก |
๘๒ |
ยักขราช |
ท้าวกุเวร ผู้พิทักษ์ทิศเหนือ |
๑๘ |
ยัง |
อยู่ มี |
๑๗, ๔๐, ๔๕, ๕๑, ๖๓. ๖๗, ๑๐๒, ๑๒๒, ๑๓๖, ๑๔๔, ๑๕๑ |
ยัง (๒) |
ไปสู่ |
๑๐๓ |
ยั้ง |
หยุด |
๓, ๕, ๔๐, ๔๙, ๕๑, ๖๓, ๗๓, ๗๗. ๙๔, ๑๓๖ |
ยา |
รักษา |
๕๘ |
ย่าเค้า |
ต้นฉบับ |
(ข) |
ยาไสน-ยาไฉน |
อย่าสงสัย |
๑๕๔ |
ย่างย้าย |
เดิน |
๑๖๑ |
ยางหนุ่ม |
ชื่อเดิมของวัดกองทราย |
๖๗ |
ยาย |
เรียงราย |
๔๕, ๗๓ |
ยิง |
หญิง |
๑๙, ๒๓, ๑๑๐ |
ยิน |
รู้สึก |
๕๔, ๗๘, ๙๑, ๙๓, ๑๑๔, ๑๓๓ |
ยิน (๒) |
จะงอย หงอน ปักเป็นรูปครุฑ |
๒๒ |
ยื้อ |
เขย่งตัวขึ้น |
๑๔๔ |
ยุต |
ถ้า ยุช - คู่ |
๑๖๖ |
ยุบล |
ข้อความ เรื่องราว |
๔ |
ยุวมาลย์ |
เยาวมาลย์ |
๑๗๓ |
เยี่ย |
ทำ แต่เทียบกับกำสรวลศรีปราชญ์แล้ว น่าจะแปลว่า แล้ว หรือแลจึง |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๑๕๘) |
เยียง |
อย่าง |
๕๒, ๑๔๐ |
เยี่ยม |
โผลหน้า ดู เยือน |
๕๗, ๕๘, ๖๗, ๑๔๔ |
เยียว |
เยียวยา รักษา |
๑๓ |
เยียว (๒) |
หากว่า |
๑๒๖ |
เยี้ยว |
เงี้ยว ไทใหญ่ |
๘๘ |
เยียะ |
ทำ |
๔๐, ๕๒, ๕๓, ๘๕, ๑๓๔, ๑๓๕, ๑๕๐ |
เยือ |
(สาย) ผูกวัว |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๕๐) |
เยื่อซ้ำ ? |
|
๘๒ |
เยื่อง |
เยี่ยง อย่าง |
๗๖, ๑๔๗ |
เยื้อน |
เยือน |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๑๔๒, ๖๗) |
เยื้อนย้าย |
เยื้องกรายเป็นขบวน |
๑๐ |
แยง |
มองดู |
๓๒, ๖๔, ๑๖๓ |
โยยิน? |
|
๘๒ |
ไย |
เรไร ล. ว่า เสียงใส ยืดยาว ไทเหนือว่าจักจั่น |
๘๒ |
คำศัพท์ |
|
เลขที่โคลง |
ลดาวัลย์ |
ชื่อไม้เถาดอกหอม |
๑๓๑, ๑๖๑ |
ลมิง-ระมิง |
ชื่อเดิมแม่น้ำปิง |
๕๘, ๑๔๙^ |
ลเลื่อน-ละเลิน-ละเลือน |
เลือนเลือน ล้อม เรียง เคลื่อนตามกันไป |
๕๕, ๑๑๐, (ดูคำอธิบาย เลือน บทที่ ๑๐๑) |
ลวด |
เลย |
๔๙, ๕๔, ๗๔, ๑๐๕, ๑๔๔ |
ลวาด |
พัดผ่านไป |
๖๓, ๘๖ |
ละบำ-ระบำ |
ช่างฟ้อน |
๑๓๐ |
ละลิดเทศ? |
|
๑๖๕ |
ลัคณา |
ลัคนา เครื่องหมายแทนเวลาเกิด |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๑๒๖) |
ลา |
จาก |
๗๗ |
ลา (๒) |
โล่ ดาบ |
๘๘ |
ลาง |
เอาออกหมด? ส.ว่า หล้าง ชะรอยว่า |
๖๑, ๙๙, ๑๐๐, ๑๖๖ |
ล้าง |
ร้าง |
๑๗๒ |
ลาชัง - ลาชา |
ข้าวตอก |
๑๒๑, ๑๒๓ |
ลายก้อม |
ลายขอม ลายมือ |
(ข) |
ล่าว |
เร่า (ร้อน) |
๖๙, ๙๖ |
ล้ำ |
กว่า |
๙ |
ลำงาด |
เวลาเย็น |
๔๑ |
ลิน |
รางน้ำไหลเอื่อยๆ |
๙๕ |
ลิ้น |
ส. ว่า ช่อง หลืบ |
๔๑ |
ลิว |
หลิ่ว ดู สุดตาลิว |
๙๗ |
ลิ่ว |
ไกลลิบ |
๙๗ |
ลี |
ตลาด |
๑๔๗ |
ลือ |
หรือ |
๑๔ |
ลือเลิง |
เลื่องลือมานาน |
๑๔๘ |
ลืน |
กลืน |
๑๔๔ |
ลุ |
ถึง |
๖, ๒๐, ๒๔, ๒๙, ๖๗, ๑๓๘, ๑๕๔, ๑๗๓, ๑๗๖ |
ลุน |
หลัง |
๕, ๑๗๓ |
ลุ่ม |
ใต้ ข้างล่าง |
๙, ๔๓, ๑๗๓ |
เล็ง |
มอง เพ่ง |
๓๖, ๔๓, ๖๐, ๘๘, ๑๓๗, ๑๖๓ |
เล็งดาย |
มองดูเปล่า |
๖๐ |
เล้น |
เร้น หลบ |
๗๖ |
เลวแล้ง |
แล้งมาก |
๕๙ |
เลอ |
เหนือ พ้น |
๒๔ |
เลา |
ชื่อไม้คล้ายอ้อ |
๖๙ |
เล้า |
เล่า |
๓๘ |
เลิง |
นาน เวลาต่อเนื่องกัน ไทขาวว่า เสมอ ส. ว่า สม่ำเสมอ |
๔๙, ๑๔๗, ๑๔๘ |
เลิน |
ล้อม เรียง (ดู เลือน) |
๑๐๑ |
เลิม |
เดิม |
๑๐๒ |
เลิม (๒) |
ชื่อปลาตัวโตมากอยู่ในแม่น้ำโขง ไม่มีเกล็ด ว่ายเร็วมาก |
๕๐, ๑๓๕ |
เลิศ |
ดู หอเลิศ |
๑๐๑ |
เลือน |
ล้อม ไทขาวว่า ติด |
๓๗, ๑๐๑ |
เลือน (๒) |
เรียง ส. ว่า ทอดกิ่งไป |
(ดูคำอธิบายบที่ ๑๐๑), ๕๕, ๑๖๐ |
แล |
นกแก้ว นกแขกเต้า |
๖๒ |
แล้ |
แล |
๑๑๕ |
แล้ง |
แห้ง ขาด |
๑๑, ๔๓, ๕๓, ๘๕, ๑๕๐, ๑๕๔ |
แล่น |
วิ่ง |
๑๓๕ |
โลเกส |
โลก |
๑๕๘ |
โลม |
ปลอบโยนโลมเล้า |
๔๗ |
โลม (๒) |
ขน ลูบ |
๗๙ |
ไล้ |
ลูบไล้ พัดผ่าน |
๕๔ |
คำศัพท์ |
|
เลขที่โคลง |
สกัน สกรรจ์ |
ฉกรรจ์ |
๘๘ |
สง |
ตัดจากประสงค์ |
๒๓ |
ส่ง |
ส่อง |
๔๑, ๑๖๖ |
ส้ง |
ไม้ไผ่ชนิดหนึ่ง |
๖๓ |
สงน-ฉงน |
ใช้คู่กับ ฉงาย แปลว่า ไกล |
๔, ๑๔๖ |
สงวน |
ส. ว่า สนุก |
๑๒๐ |
สงสาร |
การเวียนว่ายตายเกิด เวรกรรม |
๔, ๑๕๓ |
สงาย -ฉงาย |
ไกล |
๒ |
สด |
ทะลุออก พรวดพราดออกมา |
๔๑ |
สทธการ |
โชตการ สว่าง |
๑๖๕ |
สนธยา |
เวลาพลบค่ำ |
๘๕ |
สนาน |
ชำนาญ |
(ข) |
สนาม |
ส. ว่า สนทนา ศูนย์กลาง |
๕๖ |
สนำ |
ฉนำ ปี |
๑ |
สนุกสนัน |
สนุกสนาน |
๑๑๓, ๑๑๘ |
สบานงา |
กระดังงา |
๓๘ |
สม |
เหมาะ ควร ส. ว่า เสมอ |
๑๐๕ |
สม (๒) |
ร่วม |
๖๐, ๘๖, ๑๐๓, ๑๑๓, ๑๒๘, ๑๓๓ |
ส้มสุก |
อโศก |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๔๐), ๘๙ |
สมเสพ |
ส. ว่า ความประพฤติ ปฏิบัติ |
๑๒๘ |
สมาจาร |
การปฏิบัติ น่าจะเป็น สมาบัติญาณ |
๑๐๓ |
สมุทรโฆษ |
ชื่อตัวพระในชาดก |
๑๗๖ |
สยบ |
ฟุบลง |
๓๑ |
สยมภู |
หมายถึง พระพุทธรูป |
๔๕ |
สรวง |
สวรรค์ |
๖๗ |
สรรเพ็ชญ์ |
หมายถึง พระพุทธเจ้า |
๖ |
สร้อย |
ดอกไม้ |
๓๘, ๔๐ |
สระ |
ชำระ สละ |
๑๒๙ |
สระไน |
ปี่ไฉน |
๑๓๔ |
สรี |
ความสว่างไสว |
๑๕๗ |
สสา |
แต่ง งาม |
๕๗, ๑๓๗ |
สสา (๒) |
หมาก |
๓๘ |
สลาย |
แต่ง |
๒, ๕๗, ๑๓๔ |
สลาย (๒) |
แตก ทำลาย |
๔๑, ๗๙, ๑๐๐, ๑๑๖, ๑๓๒ |
สลายเกศ |
แซมผม แต่งผม |
๓๘, ๓๙ |
สสายสลับ |
ส. ว่า หลายชั้นหลายเชิง |
๑๓๔ |
สลายสลาย |
ส. ว่า เสียงลมพัดไผ่เสียดสีกัน |
๖๓ |
สลิดเทศ |
ดอกขจร |
๑๖๕ |
สลุ้ม |
สลัว แสงมัว พลบค่ำ |
๑๔๗ |
สลู |
ฉลู |
๑ |
สวด |
นูน |
๑๔๑ |
ส้วย |
ช่วย |
๑๓๓ |
สวัสดา |
สวัสดี ความดี ความเจริญรุ่งเรือง หมายถึง ศาสดา คือพระพุทธเจ้า |
๒๓ |
สว่าง |
สร่าง |
๔๑, ๙๙ |
สวาย |
มะม่วง |
๑๑๖ |
สวิง |
สวิงสวาย ใจหวิว กระวนกระวาย |
๑๙ |
สสา |
กระต่าย |
๑๑๒ |
สสี |
พระจันทร์ |
๑๑๒ |
สเสิน |
สรรเสริญ |
๗๘ |
สห |
ร่วมกัน |
๑๖๖ |
สอยวอย |
งาม (ลาว) |
๑๔๓ |
สักชาติ |
แม้แต่ชาติเดียว |
๑๗๐ |
สักขี |
พยาน |
๑๑๖, ๑๒๔ |
สักสวาด สักสาด |
เทียบกับบทที่ ๒๕ น่าจะตัดมาจาก มเหสักข์สาธย |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๙๕), ๑๐๒, ๑๐๓ |
สัง |
อะไร |
๔๘, ๑๗๐ |
สังขา |
คิด หอยสังข์ |
๑๐๒ |
สังฆา |
พระสงฆ์ |
๑ |
สังมิ |
ทำไมไม่ ถ้าหาก (เทียบ ไทอาหม สังบ่ – ถ้าหาก) |
๙๕, ๑๒๒ |
สัตตชน |
คนดีงาม |
๔ |
สัน-ฉัน |
เช่นเดยวกับ |
๙, ๗๔, ๙๒, ๙๓, ๑๒๑, ๑๕๐, ๑๖๖ |
สัพพัญญู |
พระพุทธเจ้า ผู้รู้ทั่ว |
๑๒๔ |
สา |
ไหว้ ตัดจาก สาธุ |
๑๐, ๔๗ |
สา (๒) |
หาก |
๒๐, ๕๖, ๙๐, ๑๑๓, ๑๗๓, ๑๗๖ |
สากล |
ทั่วไป ทั้งหมด |
๑๔๘ |
สาขา |
กิ่ง ก้าน |
๖๙ |
สาง |
ทำให้หายยุ่ง แยกออก |
๗๐ |
สาฏ |
ผ้า |
๑๖๑ |
สาณี |
ไหม ม่าน ฉาก มู่ลี่ |
๓๕ |
สาตร |
อาวุธ |
๑๓๖ |
สาธยะ |
เทวดา |
๒๕ |
สามแผ่นผืน |
สามโลก |
๒๐ |
ส้าย |
ใช้ ชำระให้สิ้น |
(ดูบทที่ ๑๗๗) |
สายหนัง |
โบราณใช้สายหนังไต่แทนลวด |
๑๓๕ |
สายัณห์ |
เวลาเย็น |
๑๕๘ |
สายา-ฉายา |
ร่มไม้ |
๖๓ |
สาริกา |
นกขุนทอง |
๖๒ |
สารี |
นกขุนทอง |
๖๒, ๘๒ |
สาริรัง |
สรีระหรือสาริกธาตุ รังนก? |
๔๘ |
สาริรัง (๒) |
สรีระ ร่างกาย |
๑๓๒ |
สาโรช |
สาร + โอชะ ข้อความอันไพเราะ |
๒ |
สาลัย-สาลย |
มีความอาลัย |
๑๑๔ |
สาลี |
ข้าว |
๑๒๔, ๑๒๙, ๑๕๔ |
สาลี (๒) |
ถ้าสาลิกา นกประเภทนกเอี้ยง |
๖๒ |
สาไลย-สาลย |
มีความอาลัย |
๑๑๓ |
สาวกา |
สาวก พระสงฆ์ |
๑ |
ส่ำ |
หมู่ |
๑๘, ๔๔, ๘๑, ๙๗, ๑๐๕ |
ส่ำ (๒) |
ทุก |
๑๖๓ |
สำบุญ |
สมบุญ |
๖๐, ๑๗๗ |
สำมัชฌาญ |
น่าจะเป็น สมาบัติญาณ |
๑๐๓ |
สิงคี |
ทอง สิ่งที่สีเหลืองเหมือนขมิ้น |
๑๐๖ |
สิงห์สอง |
สิงห์คู่ |
๑๑ |
สินธุ์ |
น้ำ |
๗๖ |
สิเนห์ |
เสน่หา |
๔๖, ๗๘, ๑๑๔, ๑๑๕, ๑๗๐ |
สิปป์ |
ศิลปะ |
๑๓๖ |
สิมพลี |
ต้นงิ้ว |
๖๑. ๖๙, ๑๗๒ |
สิรสา |
ศีรษะ |
๑ |
สิหิงค์ |
พระพุทธรูปองค์สำคัญของไทย |
๑๐ |
สีดา |
นางสีดา |
๑๗๗ |
สี่มุข |
จตุรมุข หอคอยสร้างเป็นจตุรมุข |
๑๐๑ |
สุญาราม |
อารามที่ว่างเปล่าไม่มีคน วัดร้างแห่งหนึ่ง |
๘๘ |
สุดตาลิว |
สุดสายตา |
๙๗ |
สุดพิสัย |
สุดสายตา |
๙๗ |
สุทธน |
พระสุธน |
๑๗๕ |
สุพรรณมาลย์ |
ดอกไม้ทอง |
๑๑๗ |
สุมสุก |
อโศก |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๔๐) |
สุราลัย |
สวรรค์ |
๑๕ |
สุรินท |
พระอาทิตย์ |
๕๘ |
สุริย-สุย |
พระอาทิตย์ |
๔๑, ๔๙ |
สุริย-สุย (๒) |
(หรือ ฝนหยิมๆ) |
๕๘, ๖๓, ๘๐, ๙๖, ๑๕๗ |
สู่ |
อยู่ร่วมกัน |
๑๓๓ |
สู่ (๒) |
ชู่ ทุก |
๖๔ |
สู้ |
พอใจ (พายัพ) |
๑๐๐ |
สู้ (๒) |
ยอม ยินดี |
๑๓๓ |
สูร |
พระอาทิตย์ |
๔๑. ๖๓. ๘๐, ๑๕๗ |
เสก |
เฉก เช่น |
๙๒ |
เสฏฐา |
ชื่อวัดร้าง |
๑๙ |
เสน |
แดง |
๑๙, ๓๘ |
เส้นสารีรัง |
เส้นขน |
๑๓๒ |
เสนี |
ทหาร |
๑๓๖ |
เสบย |
สบาย |
๑๔๐ |
เสพ |
บริโภค |
๑๕, ๖๑, ๑๐๓, ๑๖๖ |
เสมียน |
เขียน |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๑๔๙) |
เสร็จ |
สำเร็จ |
๔๖, ๑๖๗ |
เสลย |
เฉลย เล่า |
๑๓๐, ๑๓๔ |
เสวียง |
บ่า สไบเฉียง |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๕๗) |
เส่า |
หอบ ถ้า เซา พักชั่วคราว |
๒๙ |
เสิก |
ศึก |
๒๔, ๓๒, ๑๐๑, ๑๗๗ |
เสีย |
เสียดาย เสียท่า |
๑๖๖ |
เสี้ยง |
สิ้น |
๖, ๙๖, ๙๙, ๑๐๕, ๑๐๖ |
เสี้ยงศุภสาร |
เสี่ยงสาร |
๑๐๖ |
เสียมผู้ |
สยมภู หมายถึง พระพุทธเจ้า |
๔๕ |
แสง |
สี |
๑๖๓ |
แสร้ง |
ตั้งใจ |
๑๙, ๕๗, ๑๖๗ |
แสลง |
แสยง |
๒๔, ๓๒, ๑๐๑ |
แสวแสว |
เฉี่ยว โฉบ ส.ว่า เสียงไม้พายกระทบน้ำ |
๗๖ |
แสว่ |
สลักไม้ (พายัพ - แซ่) ส. ว่า สอย ปักร้อย |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๓๕) |
โสธิการ |
โชตการ |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๑๕๙) |
โสพิศ-โสภิต |
งาม |
๖๔, ๑๐๗, ๑๖๓ |
ไสยา-ไสยาสน์ |
นอน |
๑๒๐, ๑๔๒, ๑๖๗ |
คำศัพท์ |
|
เลขที่โคลง |
หดชล |
รดน้ำ |
๙๕ |
หทยัง |
หทัย ใจ |
๗ |
หน่วย |
ลูก |
๓๗ |
หน้อ |
หนอ |
๑๖๖ |
หม้อม |
หมอง ใช้คู่กับ หม่น |
๕๙, ๑๕๖ |
หมั้น |
แท้จริง |
๑๑๖, ๑๕๔ |
หม้า |
งาม สูง (ลาว) เป็นคำวิเศษณ์ประกอบ ใหม่ ใหญ่ ยักษ์ |
๒๔, ๓๒, ๙๘, ๑๒๔, ๑๓๙, ๑๕๖ |
หมาด |
ภาวะอึดอัด จะเปียกก็ไม่เปียก จะแห้งก็ไม่แห้ง |
๕๙, ๑๓๙, ๑๕๖ |
หม้าย |
ไร้คู่ |
๙๘ |
หมายเหมียดหมั้น |
จดไว้เป็นหลักฐาน |
๑๑๖ |
หย้อ |
ย่อ ย้อนคืน |
(ดูบทที่ ๑๖๖) |
หย้อง |
งาม แต่ง ประดับ |
๓๕ ก., ๑๑๔, ๑๔๓ |
หยั่น - หยั้น |
ใช้คู่กับ หย้อง งาม แต่ง ประดับ |
๑๑๔ |
หย่าม |
ย่ามใจ |
(ดูบทที่ ๑๖๖) |
หร่าม |
อร้าม |
๘๙ |
หริภุญช์ - หริภุญชัย |
ชื่อเดิมของเมืองลำพูน |
๓, ๘, ๑๘๐ , ๑๘๑ |
หฤทเยศ |
ใจ |
๓๖, ๑๓๒ |
หล้ม |
ล่ม |
๑๑๘ |
หลวง |
ใหญ่ |
๑๓, ๔๕ |
หลอ |
เหลือ |
๘๑, ๑๑๓, ๑๑๔ |
หล่อ |
ใกล้ (ลาว) |
๗, ๗๖ |
หล่อ (๒) |
ร่องน้ำที่ตกจากชายคา (อีสาน) ปรี่เข้าไป (พายัพ) |
๙๕ |
หลองแหลง |
โคลน? ประปราย หล้อง ที่ลุ่ม แอ่ง แหลง แหล่ง อ. ว่า แหลง เป็นชื่อวัด |
๖๔ |
หลอน |
หาก แม้ว่า บังเอิญ |
๑๒๖ |
หลอน (๒) |
หวัง (ไทขาว) |
๑๓๘ |
หลาก |
หลาย ประหลาด |
๓๗, ๓๙, ๗๖, ๑๓๐ |
หลายเช่นท้าว |
หลายชั่วกษัตริย์ |
๔๕ |
หวาน |
หว่าน? |
๑๗๔ |
หว่านหว้าย |
ว่าย |
๗๕ |
หว่านไหว้ |
ไหว้ |
๑๓, ๑๑๕, ๑๖๙, ๑๗๑ |
ห้อ |
ด้วย |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๑๖๕) |
ห้องใต้ |
โลกข้างล่าง |
๑๒ |
หอด |
เหนื่อย อดอยาก ไทขาวว่า ขาดข้าวน้ำ |
๙๗ |
หอดหิว |
คิดถึงมาก หิวมาก |
๙๗ |
หอมังราช |
หอพระเจ้ามังรายมหาราช |
๑๔ |
ห้อยหฤทัย |
ไทขาว แปล ห้อยใจ ว่า ติดตรึงใจ |
๒๙ |
หอเลิศ |
หอคอย |
๒๔, ๑๐๑ |
หัทเยศ |
หทัย ใจ |
๓๖, ๑๓๒ |
หัน |
เห็น |
๗๔, ๙๑, ๑๑๒, ๑๕๐ |
หัน (๒) |
หั้น ที่นั้น |
๕๐ |
หั้น |
นั้น |
๒๐, ๓๑, ๕๐, ๕๑ฒ ๕๓, ๖๔, ๗๑, ๗๓, ๙๔, ๙๕, ๑๑๓ |
หับ |
ปิด |
๓๕ ก. |
หัวฝาย |
หัวเขื่อนที่กั้นน้ำ ชื่อวัด |
๗๓ |
หาหา |
คำอัญเชิญ |
๑๘ |
หื้อ |
ให้ |
๔, ๔๖, ๔๘, ๗๖, ๑๐๓, ๑๒๕, ๑๒๖, ๑๔๐, ๑๔๖ |
หุ่งเห็น |
เห็นถนัด (อีสาน-ฮุ่ง) ส. ว่า ห่อนเห็น |
๑๙ |
หุรัง – หุรํ – หุรัม |
เบื้องหน้า ภพหน้า |
๒๘ |
เหน้า |
สร้อยคำของ หนุ่ม น้อง เป็นต้น |
๔๕ |
เหมิ้น – เมิน |
นาน |
๑๘๑ |
เหมียด |
เก็บงำไว้ |
๑๑๖, ๑๒๗ |
เหย |
ระเหย |
๔๑ |
เห้ย |
เอย |
๑๓๖ |
เหยี้ยม |
เยี่ยม |
(ดูคำอธิบายบที่ ๕๗), ๕๗, ๕๘, ๖๗ |
เหรา |
สัตว์จำพวกจระเข้ |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๒๔) |
เหล้น |
เล่น |
๕๖, ๗๖, ๘๖, ๑๓๐, ๑๘๐ |
เหลือ |
กว่า |
๗๓ |
เหลือหลาย |
มากมาย |
๖๓ |
แห้ม |
แห้ง เกรียม |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๖๐), ๑๔๕ |
ไห้ |
ร้องไห้ |
๑๕๖ |
ไหลเหลือบ |
แลไปมา เลื่อนไหลไป |
๓๕ ข. |
คำศัพท์ |
|
เลขที่โคลง |
อด |
ทน |
๙๙ |
อติเร |
ตัดมาจาก อติเรก ยิ่งใหญ่ |
๑๖๗ |
อนุโม |
ตัดมาจาก อนุโมทนา |
๑๑๑ |
อภโศก |
ส. ว่า โศกทั้งสอง ทุกข์ใหญ่หลวงเท่าฟ้า |
๙๙ |
อภโอก |
โอบอก ? |
๘๖ |
อมรกต |
หมายถึง พระแก้วมรกต |
๑๖ |
อมเรศ |
อมร เทวดา |
๑๘ |
อร |
นางงาม |
๗๙, ๘๖ |
อรพิน |
ดอกบัว |
๗๘ |
อรพิน (๒) |
หมายถึง ตัวนาง |
๘๕ |
อรรณพ |
ห้วงน้ำ |
๔๙ |
อ่วง |
ห่วง |
๙๘, ๑๓๗, ๑๓๙, ๑๕๖ |
อวร |
หมายถึง ตัวนาง |
๗, ๒๐, ๒๗, ๓๘, ๔๐, ๔๔, ๕๖, ๖๐, ๗๓, ๘๖, ๙๐, ๙๓, ๑๑๓, ๑๒๐, ๑๒๑, ๑๒๘, ๑๓๗, ๑๖๓, ๑๗๑ |
อว่าย |
บ่ายหน้า |
๖๖ |
อโศก |
ต้นไม้ดอกชนิดหนึ่ง |
๔๐ |
อห่อย |
อร่อย น่าชื่นชม ทางอีสานแปลว่า ผุดผ่อง ไม่มีตำหนิ |
๗๘, ๑๖๑ |
ออน |
หมายถึง ตัวนาง |
๗๙, ๑๐๓, ๑๕๘, ๑๗๘ |
อ่อน |
หมายถึง ตัวนาง อิดโรย |
๔๐, ๕๖, ๖๐, ๗๒, ๘๖, ๙๐, ๙๖, ๑๑๓, ๑๕๘, ๑๗๘ |
อ้อน |
หมายถึง ตัวนาง |
๙๖ |
อ้อม |
ล้อม |
๖๙ |
อ้อย |
ให้คู่กับ อาบ |
๕๐ |
อ้อย (๒) |
ให้คู่กับ อ่าน |
๑๑๙ |
อะไร-อะไรย |
พระศรีอาริยเมตไตรย |
(ดูบทที่ ๖), ๑๕๓ |
อักเขบ |
อักเสบ |
๗๔ |
อัคคชา |
ตัดมาจาก อัคคชายา เมีย |
๑๒๗ |
อัครชาเยศ |
มเหสี |
๔๗ |
อั่ง |
คั่ง (อีสาน) |
๑๓๗, ๑๕๖ |
อังเกิน |
คับแค้นเหลือเกิน |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๕๓) ๕๔ |
อังเชิญ |
อัญเชิญ |
๑๔, ๔๗ |
อัฐ |
หมายถึง ศีลแปด |
๑๒๙ |
อัฐิ |
กระดูก |
๑๖๙ |
อั้น |
นั้น |
๔๔, ๑๕๑ |
อัปสร |
นางฟ้า |
๕, ๗๘ |
อัมพร-อัมพเร |
ท้องฟ้า |
๑๐๓, ๑๐๖ |
อัส |
ม้า |
๒๙ |
อัสดง |
พระอาทิตย์ตก |
๘๐, ๑๕๙ |
อัสดารส |
พระอัฏฐารส พระยืน |
๑๗ |
อัสสยุชมาส |
อัศวยุช เดือนสิบเอ็ด |
๒ |
อ้าง |
ถือเอา |
๑๔๐, ๑๔๑ |
อาชญา |
ในที่นี่แสดงความเป็นเจ้านาย |
๑๘๐ |
อาด |
งาม (อีสาน) ใหญ่ (ล้านนา) |
๔๖, ๕๗, ๑๓๘ |
อาดุร |
ทนทุกข์ |
๕๓, ๑๓๗, ๑๘๐ |
อาตม์ |
ตนเอง |
๑๓๘ |
อาทวา |
เปล่าเปลี่ยว ระทุมทุกข์ |
๑๔๕ |
อาทิ |
ต้น ข้อต้น |
๔๖ |
อ่าน |
นับ |
๑๕๔ |
อานาศาสตร์? |
|
๑๖๑ |
อาภา |
แสง รูปโฉม |
๙๘ |
อารักษ์ |
ปกปักรักษา |
๑๔ |
อารักษ์ (๒) |
เทวดาผู้พิทักษ์ |
๑๕, ๔๗ |
อาราธน์ |
นิมนต์ |
๑๕ |
อาไรย |
พระศรีอาริยเมตไตรย |
(ดูคำอธิบายบทที่ ๖), ๑๕๓ |
อาวา |
อาวาส |
๑๒ |
อาส |
อาจ ปราการ |
๒๔ |
อาสอร-อาสูร |
เอ็นดู สงสาร |
(ข) |
อาสาศ |
น่าจะเป็น อาศาสน์ |
๖ |
อ่ำ |
ไม่ (ไทใหญ่) |
๗๔, ๑๑๒, ๑๓๘, ๑๕๐ |
อำรุง |
บำรุง |
๑๑, ๒๒, ๔๖, ๑๐๔, ๑๕๙, ๑๖๐, ๑๖๘ |
อิฏฐาผล |
ผลอันเป็นที่พึงพอใจ |
๑๒๖ |
อิฏฐารมณ์ |
ความรู้สึกอันน่าพึงพอใจ |
๑๒๙ |
อิ่นดู |
สงสาร |
๘๐, ๙๖, ๑๒๐ |
อิริยา |
ตัดจาก อิริยาบถ คือ ยืน เดิน นั่ง นอน |
๖๕, ๑๔๒ |
อืออืด |
เสียงไม้ขัดสีกัน |
๙๐ |
อือแอ้ว |
เสียงเกวียนดังออดแอด |
๔๔ |
อุด |
ตัดจาก อุตสาหะ? |
๘๕ |
อุด-อูด |
ร้อน (ลาว) |
๙๔ |
อุดสา |
ชื่อตัวเอกในเรื่องโบราณ |
๘๔, ๑๑๙ |
อุตดม |
สูงสุด |
๑๓๖ |
อุตรา |
อุดร ทิศเหนือ |
๑๘ |
อุเทศ |
การชี้แจง การแสดง การสวด |
๑๑๗ |
อุโบสถ |
อุโบสถศีล การรักษาศีลแปด |
๑๒๘ |
อุปแปน-อุปแป้น |
เป็นชื่อวัด ร้างไปแล้ว |
๑๓ |
อุปพาน |
น่าจะเป็น อุฬาร-ยิ่งใหญ่ |
๑๒๒ |
อุพารักษ์ |
น่าจะเป็น อุฬารักษ์ |
(ดูคำอธิบาย คำว่า อุฬาร ในบทที่ ๑๖) |
อุ่ม |
เอามือคลุม อุ้ม? |
๕๙ |
อุมโอด |
เสียงรถพระอาทิตย์? ส. ว่า อบอ้าว |
๙๔ |
อุมาศรี |
พระอุมา |
๓๗ |
อุยยาน |
อุทยาน สวน |
๓๗ |
อุรุ |
กว้าง มาก เลิศ |
๘๕ |
อุสุภา |
วัวผู้ |
๓๔ |
อุฬาร |
ยิ่งใหญ่ |
๑๖ |
อุษา |
ชื่อตัวนางในชาดก |
๑๗๕ |
เอง |
นั่นเอง |
๒๘ |
เอง (๒) |
เฉพาะตน คนเดียว |
๑๒๘, ๑๓๘ |
เองเดียว |
คนเดียว |
๔๒ |
เอ้ย |
เอย |
๑๒๐, ๑๕๔ |
เอารส |
โอรส ลูก |
๑๕๙ |
เอื้อม |
เรียง เทียม (ลาว) ใกล้ |
๑๘, ๓๔ |
แอก |
ล้านนา เรียกว่า คานคอ |
๓๕ |
แอว |
เอว |
๕๗, ๑๓๑ |
แอ่ว |
เที่ยว |
๑๔๐ |
โอย |
โอ้ |
๙๖, ๑๑๒ |
โอโรทา |
นางสนม ห้องพระมเหสี |
๔๕ |