วาหนิติ์นิกร

วาหนิติ์นิกร

๏ หากเพียรเวียนคิดค้น คัดคำ
พวกอักษรสูงนำ แนะไว้
กุมารหมั่นดูสำ เนียกนึก เทอญพ่อ
รู้รอบชอบจักได้ ทรัพย์ซ้องสรรเสิญ ๚ะ
๏ คำณวนควรนับอ้าง อักษร
วาหนิติ์นิกร ชื่อชี้
ตัวสูงหากสังหร ตัวต่ำ ขึ้นนา
ถ่องกระบวนแบบนี้ นับผู้ชาญเฉลียว ๚ะ
๏ เรื่องนี้นามตั้งว่า วาหะนิติ์
สองอักษรนำสนิท นับอ้าง
ร่วมเสียงสระชิด เชิงชอบ
เชิญเร่งเรียนอย่าร้าง รอบรู้ชูศรี ๚ะ

๏ วิธีอักษรไทย มีอักษรเสียงสูง ๑๑ อักษร ยังหาภอใช้แก่สำเนียงสูงภาษาไทยไม่ ต้องคิดจัดเอาอักษรสูง ๑๑ นั้น นำผสมอักษรต่ำที่ควรจะนำขึ้นอีก อักษรสูงจูงนำอักษรต่ำ ให้มีสำเนียงสูงขึ้นได้ทั้ง ๑๑ อักษร แต่อักษรสูง ๑๐ ตัว คือ ข ซ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส นี้ กับตัว (ห) แปลกกันอยู่ สังเกตดูจึ่งจะรู้แยบคาย ตัว (ห) นำนั้น เปนแต่จูงอักษรต่ำให้มีเสียงสูงขึ้นอย่างเดียว อ่านไม่ต้องออกสำเนียงตัว (ห) เช่นบุหงา ปะหนันเปนต้น ฝ่ายอักษรสูง ๑๐ ตัวนั้น ถ้านำข้างน่าตัวใด ก็ชักเสียงตัวนั้นให้สูงขึ้น ทั้งต้องอ่านให้ตัวนำนั้นออกเสียงเปนประวิสัญชะนี บันจบเข้ากับอักษรตัวหลังกลืนกันอยู่ด้วยเหมือนคำว่า ขนุน ขนอน ขนม เปนต้น แต่ตัว ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส นี้ มิใช่นำได้ทั่วไป จำเภาะนำได้แต่ตัวที่ควรจะนำ คิดตรวจดูเหนใช้นำตัว ง น ม ย ร ล ว เท่านี้โดยมาก นำได้ทั้งในแม่ ก กา กน กง กก กด กบ กม เกย แลผันด้วยไม้   ่   ้ เหมือนตัวอักษรสูงที่นำข้างน่าได้ทุกๆแม่ไป แต่คำที่แจกออกนั้น ต้องกับคำที่ใช้บ้าง ไม่ต้องบ้าง ให้เลือกคัดเอาแต่ที่จะใช้ ดังจะแจกไว้ข้างน่าต่อไป ดังนี้ ๚ะ

ตัว ข ฃ เสียงเดียวกัน ตัว (ข) นำตัว (ง) แจกดังนี้

๏ ขง ขงา ขงิ ขงี ขงึ ขงื ขงุ ขงู เขง แขง ไขง ใขง โขง เขงา ขงำ ขงะ ๚ะ

๏ ขงน ขงัน ขงาน ขงิน ขงีน ขงึน ขงืน ขงุน ขงูน เขงน แขงน โขงน ขงอน ขงวน เขงียน เขงือน เขงิน เขงอน ๚ะ

๏ ขงง ขงัง ขงาง ขงิง ขงีง ขงึง ขงืง ขงุง ขงูง เขงง แขงง โขงง ขงอง ขงวง เขงียง เขงือง เขงิง เขงอง ๚ะ

๏ ขงก ขงัก ขงาก ขงิก ขงีก ขงึก ขงืก ขงุก ขงูก เขงก แขงก โขงก ขงอก ขงวก เขงียก เขงือก เขงิก เขงอก ๚ะ

๏ ขงด ขงัด ขงาด ขงิด ขงีด ขงึด ขงืด ขงุด ขงูด เขงด แขงด โขงด ขงอด ขงวด เขงียด เขงือด เขงิด เขงอด ๚ะ

๏ ขงบ ขงับ ขงาบ ขงิบ ขงีบ ขงึบ ขงืบ ขงุบ ขงูบ เขงบ แขงบ โขงบ ขงอบ ขงวบ เขงียบ เขงือบ เขงิบ เขงอบ ๚ะ

๏ ขงม ขงัม ขงาม ขงิม ขงีม ขงึม ขงืม ขงุม ขงูม เขงม แขงม โขงม ขงอม ขงวม เขงียม เขงือม เขงิม เขงอม ๚ะ

๏ เขงย เขงอย ขงาย ขงาว ขงิว ขงีว ขงึย ขงืย ขงุย ขงูย เขงว แขงว โขงย ขงอย ขงวย เขงียว เขงือย เขงีย เขงียะ เขงือ เขงือะ เขงอ เขงอะ ขงัว ขงัวะ เขงะ แขงะ โขงะ เขงาะ ขงุํ ขงรรม ขงรร ขงอ ขง่อ ขง้อ ขงัย ขงือ ๚ะ

๏ ในแม่ตัว (ฃ) นำตัว (ง) นี้ตรวจดูตั้งแต่แม่ ก กา จนแม่เกอยไม่ได้ใช้คำเลย ๚ะ

๏ ตัว (ฉ) นำตัว (ง) แจกดังนี้ ๚ะ

๏ ฉง ฉงา ฉงิ ฉงี ฉงึ ฉงื ฉงุ ฉงู เฉง แฉง ไฉง ใฉง โฉง เฉงา ฉงำ ฉงะ ๚ะ

๏ ฉงน ฉงัน ฉงาน ฉงิน ฉงีน ฉงึน ฉงืน ฉงุน ฉงูน เฉงน แฉงน โฉงน ฉงอน ฉงวน เฉงียน เฉงือน เฉงิน เฉงอน ๚ะ

๏ ฉงง ฉงัง ฉงาง ฉงิง ฉงีง ฉงึง ฉงืง ฉงุง ฉงูง เฉงง แฉงง โฉงง ฉงอง ฉงวง เฉงียง เฉงือง เฉงิง เฉงอง ๚ะ

๏ ฉงก ฉงัก ฉงาก ฉงิก ฉงีก ฉงึก ฉงืก ฉงุก ฉงูก เฉงก แฉงก โฉงก ฉงอก ฉงวก เฉงียก เฉงือก เฉงิก เฉงอก ๚ะ

๏ ฉงด ฉงัด ฉงาด ฉงิด ฉงีด ฉงึด ฉงืด ฉงุด ฉงูด เฉงด แฉงด โฉงด ฉงอด ฉงวด เฉงียด เฉงือด เฉงิด เฉงอด ๚ะ

๏ ฉงบ ฉงับ ฉงาบ ฉงิบ ฉงีบ ฉงึบ ฉงืบ ฉงุบ ฉงูบ เฉงบ แฉงบ โฉงบ ฉงอบ ฉงวบ เฉงียบ เฉงือบ เฉงิบ เฉงอบ ๚ะ

๏ ฉงม ฉงัม ฉงาม ฉงิม ฉงีม ฉงึม ฉงืม ฉงุม ฉงูม เฉงม แฉงม โฉงม ฉงอม ฉงวม เฉงียม เฉงือม เฉงิม เฉงอม ๚ะ

๏ เฉงย เฉงอย ฉงาย ฉงาว ฉงิว ฉงีว ฉงึย ฉงืย ฉงุย ฉงูย เฉงว แฉงว โฉงย ฉงอย ฉงวย เฉงียว เฉงือย เฉงีย เฉงียะ เฉงือ เฉงือะ เฉงอ เฉงอะ ฉงัว ฉงัวะ เฉงะ แฉงะ โฉงะ เฉงาะ ฉงุํ ฉงรรม ฉงรร ฉงอ ฉง่อ ฉง้อ ฉงัย ฉงือ ๚ะ

๏ ในแม่ตัว (ฉ) นำตัว (ง) นี้ได้คำใช้แต่ ฉงน กับ ฉงาย สองคำเท่านี้ ๚ะ

(ฐ ถ) เสียงเดียวกัน ตัว (ถ) นำตัว (ง) แจกดังนี้

๏ ถง ถงา ถงิ ถงี ถงึ ถงื ถงุ ถงู เถง แถง ไถง ใถง โถง เถงา ถงำ ถงะ ๚ะ

๏ ถงน ถงัน ถงาน ถงิน ถงีน ถงึน ถงืน ถงุน ถงูน เถงน แถงน โถงน ถงอน ถงวน เถงียน เถงือน เถงิน เถงอน ๚ะ

๏ ถงง ถงัง ถงาง ถงิง ถงีง ถงึง ถงืง ถงุง ถงูง เถงง แถงง โถงง ถงอง ถงวง เถงียง เถงือง เถงิง เถงอง ๚ะ

๏ ถงก ถงัก ถงาก ถงิก ถงีก ถงึก ถงืก ถงุก ถงูก เถงก แถงก โถงก ถงอก ถงวก เถงียก เถงือก เถงิก เถงอก ๚ะ

๏ ถงด ถงัด ถงาด ถงิด ถงีด ถงึด ถงืด ถงุด ถงูด เถงด แถงด โถงด ถงอด ถงวด เถงียด เถงือด เถงิด เถงอด ๚ะ

๏ ถงบ ถงับ ถงาบ ถงิบ ถงีบ ถงึบ ถงืบ ถงุบ ถงูบ เถงบ แถงบ โถงบ ถงอบ ถงวบ เถงียบ เถงือบ เถงิบ เถงอบ ๚ะ

๏ ถงม ถงัม ถงาม ถงิม ถงีม ถงึม ถงืม ถงุม ถงูม เถงม แถงม โถงม ถงอม ถงวม เถงียม เถงือม เถงิม เถงอม ๚ะ

๏ เถงย เถงอย ถงาย ถงาว ถงิว ถงีว ถงึย ถงืย ถงุย ถงูย เถงว แถงว โถงย ถงอย ถงวย เถงียว เถงือย เถงีย เถงียะ เถงือ เถงือะ เถงอ เถงอะ ถงัว ถงัวะ เถงะ แถงะ โถงะ เถงาะ ถงุํ ถงรรม ถงรร ถงอ ถง่อ ถง้อ ถงัย ถงือ ๚ะ

๏ ในแม่ตัว (ถ) นำตัว (ง) ได้คำใช้ คือ แถง ไถง ถงาด ถงม เท่านี้ ๚ะ

๏ ตัว (ผ) นำตัว (ง) แจกเหมือนกันตั้งแต่แม่ ก กา จนแม่เกอย เหนได้คำใช้แม่ ก กา คือ ผงะ แม่กนคือ ผงอน แม่กดคือ ผงาด แม่กบคือ ผงอบ แม่กมคือ ผงม เท่านี้ ๚ะ

๏ ตัว (ฝ) นำตัว (ง) แจกได้เหมือนกัน แต่ไม่มีคำใช้ ตัว (ศ) (ษ) (ส) เปนเสียงเดียวกัน แจกแต่ตัว (ส) ตัวเดียว ก็ตลอดถึงกัน ๚ะ

----------------------------

๏ ตัว (ส) นำ (ง) แจกดังนี้ ๚ะ

๏ สง สงา สงิ สงี สงึ สงื สงุ สงู เสง แสง ไสง ใสง โสง เสงา สงำ สงะ ๚ะ

๏ สงน สงัน สงาน สงิน สงีน สงึน สงืน สงุน สงูน เสงน แสงน โสงน สงอน สงวน เสงียน เสงือน เสงิน เสงอน ๚ะ

๏ สงง สงัง สงาง สงิง สงีง สงึง สงืง สงุง สงูง เสงง แสงง โสงง สงอง สงวง เสงียง เสงือง เสงิง เสงอง ๚ะ

๏ สงก สงัก สงาก สงิก สงีก สงึก สงืก สงุก สงูก เสงก แสงก โสงก สงอก สงวก เสงียก เสงือก เสงิก เสงอก ๚ะ

๏ สงด สงัด สงาด สงิด สงีด สงึด สงืด สงุด สงูด เสงด แสงด โสงด สงอด สงวด เสงียด เสงือด เสงิด เสงอด ๚ะ

๏ สงบ สงับ สงาบ สงิบ สงีบ สงึบ สงืบ สงุบ สงูบ เสงบ แสงบ โสงบ สงอบ สงวบ เสงียบ เสงือบ เสงิบ เสงอบ ๚ะ

๏ สงม สงัม สงาม สงิม สงีม สงึม สงืม สงุม สงูม เสงม แสงม โสงม สงอม สงวม เสงียม เสงือม เสงิม เสงอม ๚ะ

๏ เสงย เสงอย สงาย สงาว สงิว สงีว สงึย สงืย สงุย สงูย เสงว แสงว โสงย สงอย สงวย เสงียว เสงือย เสงีย เสงียะ เสงือ เสงือะ เสงอ เสงอะ สงัว สงัวะ เสงะ แสงะ โสงะ เสงาะ สงุํ สงรรม สงรร สงอ สง่อ สง้อ สงัย สงือ ๚ะ

----------------------------

๏ ในแม่ตัว (ส) นำตัว (ง) แม่ ก กา ได้คำใช้คำ๑ คือ สง่า ในแม่กน ได้คำใช้คำ ๑ คือ สงวน แม่กดได้คำใช้คำ ๑ คือ สงัด แม่กบได้คำใช้คำ ๑ คือ สงบเงียบ แม่กมได้คำใช้คำ ๑ คือ เสงี่ยม นอกนั้นไม่มีคำใช้ ๚ะ

๏ จบแม่ต้นเพียงนี้ ๚ะ

----------------------------

๏ ตัว (ข) นำตัว (น) แจกดังนี้ ๚ะ

๏ ขน ขนา ขนิ ขนี ขนึ ขนื ขนุ ขนู เขน แขน ไขน ใขน โขน เขนา ขนำ ขนะ ๚ะ

๏ ขนน ขนัน ขนาน ขนิน ขนีน ขนึน ขนืน ขนุน ขนูน เขนน แขนน โขนน ขนอน ขนวน เขนียน เขนือน เขนิน เขนอน ๚ะ

๏ ขนง ขนัง ขนาง ขนิง ขนีง ขนึง ขนืง ขนุง ขนูง เขนง แขนง โขนง ขนอง ขนวง เขนียง เขนือง เขนิง เขนอง ๚ะ

๏ ขนก ขนัก ขนาก ขนิก ขนีก ขนึก ขนืก ขนุก ขนูก เขนก แขนก โขนก ขนอก ขนวก เขนียก เขนือก เขนิก เขนอก ๚ะ

๏ ขนด ขนัด ขนาด ขนิด ขนีด ขนึด ขนืด ขนุด ขนูด เขนด แขนด โขนด ขนอด ขนวด เขนียด เขนือด เขนิด เขนอด ๚ะ

๏ ขนบ ขนับ ขนาบ ขนิบ ขนีบ ขนึบ ขนืบ ขนุบ ขนูบ เขนบ แขนบ โขนบ ขนอบ ขนวบ เขนียบ เขนือบ เขนิบ เขนอบ ๚ะ

๏ ขนม ขนัม ขนาม ขนิม ขนีม ขนึม ขนืม ขนุม ขนูม เขนม แขนม โขนม ขนอม ขนวม เขนียม เขนือม เขนิม เขนอม ๚ะ

๏ เขนย เขนอย ขนาย ขนาว ขนิว ขนีว ขนึย ขนืย ขนุย ขนูย เขนว แขนว โขนย ขนอย ขนวย เขนียว เขนือย เขนีย เขนียะ เขนือ เขนือะ เขนอ เขนอะ ขนัว ขนัวะ เขนะ แขนะ โขนะ เขนาะ ขนุํ ขนรรม ขนรร ขนอ ขน่อ ขน้อ ขนัย ขนือ ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (น) แม่ ก กา ไม่ได้คำใช้ ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (น) แม่กน ได้คำใช้ ๔ คำ คือ ขนน ทำขนัน ขนานน่า ต้นขนุน ด่านขนอน

๏ ตัว (ข) นำตัว (น) แม่กง ได้คำใช้ ๖ คำ คือ พระขนง อางขนาง รำเขนง แขนงไม้ บางโขนง พระขนอง ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (น) แม่กก ได้คำใช้ ๓ คำ คือ ลายขนก บางขนาก เอกเขนก ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (น) แม่กด ได้คำใช้ ๓ คำ คือ ขนดหาง สวนสองขนัด วัดได้ขนาด ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (น) แม่กบ ได้คำใช้ ๓ คำ คือ ขนบธรรมเนียม ไม้ขนาบ ขนอบไว้ ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (น) แม่กม ได้คำใช้คำ ๑ คือ ขนม ๚ะ

๏ แม่เกยได้คำใช้ ๓ คำ คือ พระเขนย ขนายช้าง แขนะลาย ๚ะ

----------------------------

๏ ตัว (ฉ) นำตัว (น) แจกดังนี้ ๚ะ

๏ ฉน ฉนา ฉนิ ฉนี ฉนึ ฉนื ฉนุ ฉนู เฉน แฉน ไฉน ใฉน โฉน เฉนา ฉนำ ฉนะ ๚ะ

๏ ฉนน ฉนัน ฉนาน ฉนิน ฉนีน ฉนึน ฉนืน ฉนุน ฉนูน เฉนน แฉนน โฉนน ฉนอน ฉนวน เฉนียน เฉนือน เฉนิน เฉนอน ๚ะ

๏ ฉนง ฉนัง ฉนาง ฉนิง ฉนีง ฉนึง ฉนืง ฉนุง ฉนูง เฉนง แฉนง โฉนง ฉนอง ฉนวง เฉนียง เฉนือง เฉนิง เฉนอง ๚ะ

๏ ฉนก ฉนัก ฉนาก ฉนิก ฉนีก ฉนึก ฉนืก ฉนุก ฉนูก เฉนก แฉนก โฉนก ฉนอก ฉนวก เฉนียก เฉนือก เฉนิก เฉนอก ๚ะ

๏ ฉนด ฉนัด ฉนาด ฉนิด ฉนีด ฉนึด ฉนืด ฉนุด ฉนูด เฉนด แฉนด โฉนด ฉนอด ฉนวด เฉนียด เฉนือด เฉนิด เฉนอด ๚ะ

๏ ฉนบ ฉนับ ฉนาบ ฉนิบ ฉนีบ ฉนึบ ฉนืบ ฉนุบ ฉนูบ เฉนบ แฉนบ โฉนบ ฉนอบ ฉนวบ เฉนียบ เฉนือบ เฉนิบ เฉนอบ ๚ะ

๏ ฉนม ฉนัม ฉนาม ฉนิม ฉนีม ฉนึม ฉนืม ฉนุม ฉนูม เฉนม แฉนม โฉนม ฉนอม ฉนวม เฉนียม เฉนือม เฉนิม เฉนอม ๚ะ

๏ เฉนย เฉนอย ฉนาย ฉนาว ฉนิว ฉนีว ฉนึย ฉนืย ฉนุย ฉนูย เฉนว แฉนว โฉนย ฉนอย ฉนวย เฉนียว เฉนือย เฉนีย เฉนียะ เฉนือ เฉนือะ เฉนอ เฉนอะ ฉนัว ฉนัวะ เฉนะ แฉนะ โฉนะ เฉนาะ ฉนุํ ฉนรรม ฉนรร ฉนอ ฉน่อ ฉน้อ ฉนัย ฉนือ ๚ะ

----------------------------

๏ ตัว (ฉ) นำตัว (น) แม่ ก กา ได้คำใช้ ๓ คำ คือ ทำไฉน ปี่ไฉน นับฉนำ ๚ะ

๏ ตัว (ฉ) นำตัว (น) แม่กน ได้คำใช้ ๒ คำ คือ ประตูฉนวน ริมเฉนียน ๚ะ

๏ ตัว (ฉ) นำตัว (น) แม่กง ได้คำใช้คำ ๑ คือ ฉนัง คำเขมร ว่าม่อ ๚ะ

๏ ตัว (ฉ) นำตัว (น) แม่กก มีคำ ๑ คือ ปลาฉนาก ๚ะ

๏ ตัว (ฉ) นำตัว (น) แม่กด ได้คำใช้ ๒ คำ คือ น่าโฉนด ทอดโฉนดบาดหมาย ๚ะ

๏ ตัว (ฉ) นำตัว (น) แม่กบ แม่กม แม่เกย ไม่มีคำใช้ ๚ะ

----------------------------

๏ ตัว (ถ) นำตัว (น) แจกดั่งนี้ ๚ะ

๏ ถน ถนา ถนิ ถนี ถนึ ถนื ถนุ ถนู เถน แถน ไถน ใถน โถน เถนา ถนำ ถนะ ๚ะ

๏ ถนน ถนัน ถนาน ถนิน ถนีน ถนึน ถนืน ถนุน ถนูน เถนน แถนน โถนน ถนอน ถนวน เถนียน เถนือน เถนิน เถนอน ๚ะ

๏ ถนง ถนัง ถนาง ถนิง ถนีง ถนึง ถนืง ถนุง ถนูง เถนง แถนง โถนง ถนอง ถนวง เถนียง เถนือง เถนิง เถนอง ๚ะ

๏ ถนก ถนัก ถนาก ถนิก ถนีก ถนึก ถนืก ถนุก ถนูก เถนก แถนก โถนก ถนอก ถนวก เถนียก เถนือก เถนิก เถนอก ๚ะ

๏ ถนด ถนัด ถนาด ถนิด ถนีด ถนึด ถนืด ถนุด ถนูด เถนด แถนด โถนด ถนอด ถนวด เถนียด เถนือด เถนิด เถนอด ๚ะ

๏ ถนบ ถนับ ถนาบ ถนิบ ถนีบ ถนึบ ถนืบ ถนุบ ถนูบ เถนบ แถนบ โถนบ ถนอบ ถนวบ เถนียบ เถนือบ เถนิบ เถนอบ ๚ะ

๏ ถนม ถนัม ถนาม ถนิม ถนีม ถนึม ถนืม ถนุม ถนูม เถนม แถนม โถนม ถนอม ถนวม เถนียม เถนือม เถนิม เถนอม ๚ะ

๏ เถนย เถนอย ถนาย ถนาว ถนิว ถนีว ถนึย ถนืย ถนุย ถนูย เถนว แถนว โถนย ถนอย ถนวย เถนียว เถนือย เถนีย เถนียะ เถนือ เถนือะ เถนอ เถนอะ ถนัว ถนัวะ เถนะ แถนะ โถนะ เถนาะ ถนุํ ถนรรม ถนรร ถนอ ถน่อ ถน้อ ถนัย ถนือ ๚ะ

----------------------------

๏ ตัว (ถ) นำตัว (น) แม่ ก กา ได้คำใช้ ๒ คำ คือ ดินถนำ ถนำทึก ๚ะ

๏ ตัว (ถ) นำตัว (น) แม่กน ได้คำใช้คำ ๑ คือ ถนน ๚ะ

๏ ตัว (ถ) นำตัว (น) แม่กง แม่กก ไม่มีคำใช้ ๚ะ

๏ ตัว (ถ) นำตัว (น) แม่กด ได้คำใช้คำ ๒ คือ รู้ถนัด ๚ะ

๏ ตัว (ถ) นำตัว (น) แม่กบ ไม่มีคำใช้ ๚ะ

๏ ตัว (ถ) นำตัว (น) แม่กม ได้คำใช้ ๒ คำ คือ ถนิมเมือง ถนอมไว้ ๚ะ

๏ ตัว (ถ) นำตัว (น) แม่เกย ไม่ได้คำใช้ ๚ะ

----------------------------

๏ ตัว (ผ) นำตัว (น) แจกดังนี้ ๚ะ

๏ ผน ผนา ผนิ ผนี ผนึ ผนื ผนุ ผนู เผน แผน ไผน ใผน โผน เผนา ผนำ ผนะ ๚ะ

๏ ผนน ผนัน ผนาน ผนิน ผนีน ผนึน ผนืน ผนุน ผนูน เผนน แผนน โผนน ผนอน ผนวน เผนียน เผนือน เผนิน เผนอน ๚ะ

๏ ผนง ผนัง ผนาง ผนิง ผนีง ผนึง ผนืง ผนุง ผนูง เผนง แผนง โผนง ผนอง ผนวง เผนียง เผนือง เผนิง เผนอง ๚ะ

๏ ผนก ผนัก ผนาก ผนิก ผนีก ผนึก ผนืก ผนุก ผนูก เผนก แผนก โผนก ผนอก ผนวก เผนียก เผนือก เผนิก เผนอก ๚ะ

๏ ผนด ผนัด ผนาด ผนิด ผนีด ผนึด ผนืด ผนุด ผนูด เผนด แผนด โผนด ผนอด ผนวด เผนียด เผนือด เผนิด เผนอด ๚ะ

๏ ผนบ ผนับ ผนาบ ผนิบ ผนีบ ผนึบ ผนืบ ผนุบ ผนูบ เผนบ แผนบ โผนบ ผนอบ ผนวบ เผนียบ เผนือบ เผนิบ เผนอบ ๚ะ

๏ ผนม ผนัม ผนาม ผนิม ผนีม ผนึม ผนืม ผนุม ผนูม เผนม แผนม โผนม ผนอม ผนวม เผนียม เผนือม เผนิม เผนอม ๚ะ

๏ เผนย เผนอย ผนาย ผนาว ผนิว ผนีว ผนึย ผนืย ผนุย ผนูย เผนว แผนว โผนย ผนอย ผนวย เผนียว เผนือย เผนีย เผนียะ เผนือ เผนือะ เผนอ เผนอะ ผนัว ผนัวะ เผนะ แผนะ โผนะ เผนาะ ผนุํ ผนรรม ผนรร ผนอ ผน่อ ผน้อ ผนัย ผนือ ๚ะ

๏ ตัว (ผ) นำตัว (น) แม่ ก กา ไม่มีคำใช้ ๚ะ

๏ ตัว (ผ) นำตัว (น) แม่กน ไม่มีคำใช้ ๚ะ

๏ ตัว (ผ) นำตัว (น) แม่กง มีคำใช้คำ ๑ คือ ฝาผนัง ๚ะ

๏ ตัว (ผ) นำตัว (น) แม่กก มีคำใช้ ๔ คำ คือ แกะผนึก เปนแผนก เลขผนวก สมุดสองเผนิก ๚ะ

๏ ตัว (ผ) นำตัว (น) แม่กด ได้คำใช้คำ ๑ คือ ทรงพระผนวช ๚ะ

๏ ตัว (ผ) นำตัว (น) แม่กบ แม่กม แม่เกย ไม่มีคำใช้ ๚ะ

๏ ตัว (ฝ) นำตัว (น) แจกทั้ง ๘ แม่ไม่ได้คำใช้ ๚ะ

๏ ส สามตัวเปนเสียงเดียวกัน แจกแต่ ส ตัวเดียวก็ถึงตลอดกัน ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (น) แจกดังนี้ ๚ะ

๏ สน สนา สนิ สนี สนึ สนื สนุ สนู เสน แสน ไสน ใสน โสน เสนา สนำ สนะ ๚ะ

๏ สนน สนัน สนาน สนิน สนีน สนึน สนืน สนุน สนูน เสนน แสนน โสนน สนอน สนวน เสนียน เสนือน เสนิน เสนอน ๚ะ

๏ สนง สนัง สนาง สนิง สนีง สนึง สนืง สนุง สนูง เสนง แสนง โสนง สนอง สนวง เสนียง เสนือง เสนิง เสนอง ๚ะ

๏ สนก สนัก สนาก สนิก สนีก สนึก สนืก สนุก สนูก เสนก แสนก โสนก สนอก สนวก เสนียก เสนือก เสนิก เสนอก ๚ะ

๏ สนด สนัด สนาด สนิด สนีด สนึด สนืด สนุด สนูด เสนด แสนด โสนด สนอด สนวด เสนียด เสนือด เสนิด เสนอด ๚ะ

๏ สนบ สนับ สนาบ สนิบ สนีบ สนึบ สนืบ สนุบ สนูบ เสนบ แสนบ โสนบ สนอบ สนวบ เสนียบ เสนือบ เสนิบ เสนอบ ๚ะ

๏ สนม สนัม สนาม สนิม สนีม สนึม สนืม สนุม สนูม เสนม แสนม โสนม สนอม สนวม เสนียม เสนือม เสนิม เสนอม ๚ะ

๏ เสนย เสนอย สนาย สนาว สนิว สนีว สนึย สนืย สนุย สนูย เสนว แสนว โสนย สนอย สนวย เสนียว เสนือย เสนีย เสนียะ เสนือ เสนือะ เสนอ เสนอะ สนัว สนัวะ เสนะ แสนะ โสนะ เสนาะ สนุํ สนรรม สนรร สนอ สน่อ สน้อ สนัย สนือ ๚ะ

----------------------------

๏ ตัว (ส) นำตัว (น) แม่ ก กา ได้คำใช้ ๔ คำ คือ เสนห ต้นโสน เสน่า ช่างสนะ ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (น) แม่กน ได้คำใช้ ๓ คำ คือ ดังสนั่น สนานน้ำ ต้นสนุ่น ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (น) แม่กง2ได้คำใช้ ๒ คำ คือ เสนง สนอง ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (น) แม่กก ได้คำใช้คำ ๑ คือ สนุก ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (น) แม่กด ได้คำใช้ ๓ คำ คือ สนัด สนิท เปนเสนียด

๏ ตัว (ส) นำตัว (น) แม่กบ ได้คำใช้ ๒ คำ คือ สนับเพลา เสื้อสนอบกาย ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (น) แม่กม ได้คำใช้ ๓ คำ คือ กรมสนม สนามเพลาะ สนิมเหล็ก ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (น) แม่เกย ได้คำใช้ ๓ คำ คือ ทูลเสนอ เสนอลูกขุน แสนเสนาะ ๚ะ

๏ จบแม่ที่ ๒ เพียงนี้ ฯะ

----------------------------

๏ ตัว (ข) นำตัว (ม) แจกดังนี้ ๚ะ

๏ ขม ขมา ขมิ ขมี ขมึ ขมื ขมุ ขมู เขม แขม ไขม ใขม โขม เขมา ขมำ ขมะ ๚ะ

๏ ขมน ขมัน ขมาน ขมิน ขมีน ขมึน ขมืน ขมุน ขมูน เขมน แขมน โขมน ขมอน ขมวน เขมียน เขมือน เขมิน เขมอน ๚ะ

๏ ขมง ขมัง ขมาง ขมิง ขมีง ขมึง ขมืง ขมุง ขมูง เขมง แขมง โขมง ขมอง ขมวง เขมียง เขมือง เขมิง เขมอง ๚ะ

๏ ขมก ขมัก ขมาก ขมิก ขมีก ขมึก ขมืก ขมุก ขมูก เขมก แขมก โขมก ขมอก ขมวก เขมียก เขมือก เขมิก เขมอก ๚ะ

๏ ขมด ขมัด ขมาด ขมิด ขมีด ขมึด ขมืด ขมุด ขมูด เขมด แขมด โขมด ขมอด ขมวด เขมียด เขมือด เขมิด เขมอด ๚ะ

๏ ขมบ ขมับ ขมาบ ขมิบ ขมีบ ขมึบ ขมืบ ขมุบ ขมูบ เขมบ แขมบ โขมบ ขมอบ ขมวบ เขมียบ เขมือบ เขมิบ เขมอบ ๚ะ

๏ ขมม ขมัม ขมาม ขมิม ขมีม ขมึม ขมืม ขมุม ขมูม เขมม แขมม โขมม ขมอม ขมวม เขมียม เขมือม เขมิม เขมอม ๚ะ

๏ เขมย เขมอย ขมาย ขมาว ขมิว ขมีว ขมึย ขมืย ขมุย ขมูย เขมว แขมว โขมย ขมอย ขมวย เขมียว เขมือย เขมีย เขมียะ เขมือ เขมือะ เขมอ เขมอะ ขมัว ขมัวะ เขมะ แขมะ โขมะ เขมาะ ขมุํ ขมรรม ขมรร ขมอ ขม่อ ขม้อ ขมัย ขมือ ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (ม) แม่ ก กา ได้คำใช้ ๕ คำ คือ คนแขม ปลาเขมาโกรย เขมา ภาษาเขมรว่าดำ จับเขม่า ขม้ำกิน ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (ม) แม่กน ได้คำใช้ ๕ คำ คือ ขมิ้น เขมร เขม่นตา มุ่งเขม้น ขมวนปลา ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (ม) แม่กงได้คำใช้ ๕ คำ คือ ขมังธนู ขมึงตา เคร่งเขมง ควันโขมง หัวขมอง ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (ม) แม่กกได้คำใช้ ๒ คำ คือ ขมึกขม้ำ ขมุกคะมอม ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (ม) แม่กด ได้คำใช้ ๔ คำ คือ ขมุดขมิด เขมดกล้ำ ผีโขมด มุ่นขมวด ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (ม) แม่กบ ได้คำใช้ ๔ คำ คือ ปิดขมับ ขมิบ หายใจขมุบ ๆ เตมเขมือบ ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (ม) แม่กม ได้คำใช้ คำ ๑ คือ กลางขม่อม ๚ะ

๏ ตัว (ข) น่าตัว (ม) แม่เกย ได้คำใช้ ๒ คำ คือ แขม่วท้อง ขมุกขมัว ๚ะ

๏ ตัว (ฉ) นำตัว (ม) แม่ทั้งแปดแม่เหนเปนคำใช้อยู่ ๓ คำ ฉมวยฉมำ หาของฉมัง ฉมวกนอกนั้นไม่มีคำใช้ ๚ะ

๏ ตัว (ถ) นำตัว (ม) แม่ ก กา ไม่มีคำใช้ ๚ะ

๏ ตัว (ถ) นำตัว (ม) แม่กน มีคำใช้คำ ๑ คือ เถมินไพร ๚ะ

๏ ตัว (ถ) นำตัว (ม) แม่กง มีคำ ๑ คือ ถมึงทึง ๚ะ

๏ ตัว (ถ) นำตัว (ม) แม่กก แม่กด แม่กบ แม่กม แม่เกย ไม่มีคำใช้ ๚ะ

๏ ตัว (ผ ฝ) นำตัว (ม) แจกออกทั้งแปดแม่ ไม่มีคำที่จะใช้ในภาษาไทย ๚ะ

----------------------------

๏ ตัว (ส) นำตัว (ม) แจกดังนี้ ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (ม) แจกดังนี้ ๚ะ

๏ สม สมา สมิ สมี สมึ สมื สมุ สมู เสม แสม ไสม ใสม โสม เสมา สมำ สมะ ๚ะ

๏ สมน สมัน สมาน สมิน สมีน สมึน สมืน สมุน สมูน เสมน แสมน โสมน สมอน สมวน เสมียน เสมือน เสมิน เสมอน ๚ะ

๏ สมง สมัง สมาง สมิง สมีง สมึง สมืง สมุง สมูง เสมง แสมง โสมง สมอง สมวง เสมียง เสมือง เสมิง เสมอง ๚ะ

๏ สมก สมัก สมาก สมิก สมีก สมึก สมืก สมุก สมูก เสมก แสมก โสมก สมอก สมวก เสมียก เสมือก เสมิก เสมอก ๚ะ

๏ สมด สมัด สมาด สมิด สมีด สมึด สมืด สมุด สมูด เสมด แสมด โสมด สมอด สมวด เสมียด เสมือด เสมิด เสมอด ๚ะ

๏ สมบ สมับ สมาบ สมิบ สมีบ สมึบ สมืบ สมุบ สมูบ เสมบ แสมบ โสมบ สมอบ สมวบ เสมียบ เสมือบ เสมิบ เสมอบ ๚ะ

๏ สมม สมัม สมาม สมิม สมีม สมึม สมืม สมุม สมูม เสมม แสมม โสมม สมอม สมวม เสมียม เสมือม เสมิม เสมอม ๚ะ

๏ เสมย เสมอย สมาย สมาว สมิว สมีว สมึย สมืย สมุย สมูย เสมว แสมว โสมย สมอย สมวย เสมียว เสมือย เสมีย เสมียะ เสมือ เสมือะ เสมอ เสมอะ สมัว สมัวะ เสมะ แสมะ โสมะ เสมาะ สมุํ สมรรม สมรร สมอ สม่อ สม้อ สมัย สมือ ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ม) แม่ ก กา ได้คำใช้ ๔ คำ คือ ต้นสมี สมุหบาญชี ฟืนแสม ตามไสมย ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ม) แม่กนได้คำใช้ ๖ คำ คือ สมนจาก เนื้อสมัน ยาสมาน ยาสมุนไพร มิ่งสมร เปนเสมียน ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ม) แม่กงได้คำใช้ ๒ คำ คือ เสือสมิง เยื่อสมอง ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ม) แม่กกได้คำใช้ ๓ คำ คือ เลขสมัค สานสมุค ลายตาสมุก ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ม) แม่กดได้คำใช้ ๓ คำ คือ สมาศ สมุดดำ สมุดขาว มหาสมุท ไต้เสม็ด ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ม) แม่กบ แม่กม ไม่มีคำใช้ ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ม) แม่เกย ได้คำใช้ ๔ คำ คือ เกาะสมุย ผลสมอ ได้เสมอ สบสมัย ๚ะ

๏ จบแม่ที่ ๓ เพียงนี้ ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (ย) แจกดังนี้ ๚ะ

๏ ขย ขยา ขยิ ขยี ขยึ ขยื ขยุ ขยู เขย แขย ไขย ใขย โขย เขยา ขยำ ขยะ ๚ะ

๏ ขยน ขยัน ขยาน ขยิน ขยีน ขยึน ขยืน ขยุน ขยูน เขยน แขยน โขยน ขยอน ขยวน เขยียน เขยือน เขยิน เขยอน ๚ะ

๏ ขยง ขยัง ขยาง ขยิง ขยีง ขยึง ขยืง ขยุง ขยูง เขยง แขยง โขยง ขยอง ขยวง เขยียง เขยือง เขยิง เขยอง ๚ะ

๏ ขยก ขยัก ขยาก ขยิก ขยีก ขยึก ขยืก ขยุก ขยูก เขยก แขยก โขยก ขยอก ขยวก เขยียก เขยือก เขยิก เขยอก ๚ะ

๏ ขยด ขยัด ขยาด ขยิด ขยีด ขยึด ขยืด ขยุด ขยูด เขยด แขยด โขยด ขยอด ขยวด เขยียด เขยือด เขยิด เขยอด ๚ะ

๏ ขยบ ขยับ ขยาบ ขยิบ ขยีบ ขยึบ ขยืบ ขยุบ ขยูบ เขยบ แขยบ โขยบ ขยอบ ขยวบ เขยียบ เขยือบ เขยิบ เขยอบ ๚ะ

๏ ขยม ขยัม ขยาม ขยิม ขยีม ขยึม ขยืม ขยุม ขยูม เขยม แขยม โขยม ขยอม ขยวม เขยียม เขยือม เขยิม เขยอม ๚ะ

๏ เขยย เขยอย ขยาย ขยาว ขยิว ขยีว ขยึย ขยืย ขยุย ขยูย เขยว แขยว โขยย ขยอย ขยวย เขยียว เขยือย เขยีย เขยียะ เขยือ เขยือะ เขยอ เขยอะ ขยัว ขยัวะ เขยะ แขยะ โขยะ เขยาะ ขยุํ ขยรรม ขยรร ขยอ ขย่อ ขย้อ ขยัย ขยือ ๚ะ

----------------------------

๏ ตัว (ข) นำตัว (ย) แม่ ก กา ได้คำใช้ ๖ คำ คือ สังขยา ขยี้ เขย่า ขยำ ขย้ำ ขยะฝุ่นฝอย ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (ย) แม่กน ได้คำใช้ ๗ คำ คือ ขยน ว่าลม ขยันทำงาน คิดขยั้น ขย้อนไส้ ขยักขย่อน เขยื้อนถอย ฟันเขยิน ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (ย) แม่กง ได้คำใช้ ๖ คำ คือ ขย่งเท้า เขย่งเท้า ยืนเขย่ง ปลาแขยง ปืนแขย่ง ไปทั้งโขยง ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (ย) แม่กก ได้คำใช้ ๔ คำ คือ เดินเขยก ทำโอกโขยก ขยอกกลืน ขยุกขยิก ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (ย) แม่กด ได้คำใช้ ๓ คำ คือ ขยดถอย ขยัดไว้ ขยาดกลัว ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (ย) แม่กบ ได้คำใช้ ๕ คำ คือ ขยับเข้าใกล้ ขยาบเรือ ขยุบ ๆ ขยิบตา เขยิบ ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (ย) แม่กม ได้คำใช้ ๔ คำ คือ อัญขยม หยิบขยุ้ม ทำขยึม อัญขยุม ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (ย) แม่เกย ได้คำใช้ ๓ คำ คือ แก้ขยาย กินขยุย ดูเขยอะขยะ ๚ะ

๏ ตัว (ฉ) นำตัว (ย) แจกทั้งแปดแม่ไม่มีคำใช้ ๚ะ

๏ ตัว (ผ) นำตัว (ย) แม่กง ได้คำใช้คำ ๑ คือ ผันผยอง ๚ะ

๏ ตัว (ผ) นำตัว (ย) แม่กบ ได้คำใช้คำ ๑ คือ บินเผยิบ ๚ะ

๏ ตัว (ผ) นำตัว (ย) แม่เกย ได้คำใช้คำ ๑ คือ หยิ่งเผยอ ๚ะ

๏ นอกนั้นไม่มีคำใช้ ๚ะ

๏ ตัว (ฝ) นำตัว (ย) แจกทั้งแปดแม่ไม่มีคำใช้

----------------------------

๏ ตัว (ส) นำตัว (ย) แจกดังนี้ ๚ะ

๏ สย สยา สยิ สยี สยึ สยื สยุ สยู เสย แสย ไสย ใสย โสย เสยา สยำ สยะ ๚ะ

๏ สยน สยัน สยาน สยิน สยีน สยึน สยืน สยุน สยูน เสยน แสยน โสยน สยอน สยวน เสยียน เสยือน เสยิน เสยอน ๚ะ

๏ สยง สยัง สยาง สยิง สยีง สยึง สยืง สยุง สยูง เสยง แสยง โสยง สยอง สยวง เสยียง เสยือง เสยิง เสยอง ๚ะ

๏ สยก สยัก สยาก สยิก สยีก สยึก สยืก สยุก สยูก เสยก แสยก โสยก สยอก สยวก เสยียก เสยือก เสยิก เสยอก ๚ะ

๏ สยด สยัด สยาด สยิด สยีด สยึด สยืด สยุด สยูด เสยด แสยด โสยด สยอด สยวด เสยียด เสยือด เสยิด เสยอด ๚ะ

๏ สยบ สยับ สยาบ สยิบ สยีบ สยึบ สยืบ สยุบ สยูบ เสยบ แสยบ โสยบ สยอบ สยวบ เสยียบ เสยือบ เสยิบ เสยอบ ๚ะ

๏ สยม สยัม สยาม สยิม สยีม สยึม สยืม สยุม สยูม เสยม แสยม โสยม สยอม สยวม เสยียม เสยือม เสยิม เสยอม ๚ะ

๏ เสยย เสยอย สยาย สยาว สยิว สยีว สยึย สยืย สยุย สยูย เสยว แสยว โสยย สยอย สยวย เสยียว เสยือย เสยีย เสยียะ เสยือ เสยือะ เสยอ เสยอะ สยัว สยัวะ เสยะ แสยะ โสยะ เสยาะ สยุํ สยรรม สยรร สยอ สย่อ สย้อ สยัย สยือ ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ย) แม่ ก กา มีคำใช้ ๒ คำ คือ แพสยา ฤษยา ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ย) แม่กน มีคำใช้ ๓ คำ คือ สยบสยอน แพสยันดร สยุ่น ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ย) แม่กง มีคำใช้ ๒ คำ คือ แสยงกลัว สยองเกล้า ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ย) แม่กก มีคำใช้คำ ๑ คือ ต้นแสยก ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ย) แม่กด มีคำใช้คำ ๑ คือ แสยงสยด ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ย) แม่กบ มีคำใช้ ๒ คำ คือ สยบสยอน พระกสยบ ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ย) แม่กม มีคำใช้ ๓ คำ คือ พระสยมภวญาณ กรุงสยาม สยุมพร ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ย) แม่เกย มีคำใช้ ๓ คำ คือ สยายผม สยิ้วหน้า หน้าแสยะ ๚ะ

๏ จบแม่ที่ ๔ เพียงนี้ ๚ะ

----------------------------

๏ ตัว (ข) นำตัว (ร) แจกทั้ง ๘ แม่เหนได้คำใช้แต่ เสียงขรม ท่านขรัว เท่านั้น ๚ะ

๏ ตัว (ถ ผ) นำตัว (ร) ก็ไม่มีคำใช้ในภาษาไทย

๏ ตัว (ฝ) นำตัว (ร) แม่กน มีคำใช้คำ ๑ คือ หญ้าฝรั่น ๚ะ

๏ ตัว (ฝ) นำตัว (ร) แม่กง มีคำใช้คำ ๑ คือ เมืองฝรั่ง ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ร) แม่ ก กา ได้คำใช้ ๗ คำ คือ สราพก ศรีสวัสดิ์ บ่อสระ โศรกเศร้า สระเสียง สระสรง สรุสระ ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ร) แม่กน ได้คำใช้ ๓ คำ คือ สราญรมย์ กำสรวญ สรเสริญ ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ร) แม่กง ได้คำใช้ ๕ คำ คือ สรงสนาน สระสราง ใสสร่าง ก่อสร้าง แสร้งทำ สรวงสวรรค์ ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ร) แม่กก ได้คำใช้ ๓ คำ คือ สรากหน้า แสรกคาน แสนโศรก ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ร) แม่กด ได้คำใช้ ๓ คำ คือ กำสรด เสริดหนี ประเสริฐ ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ร) แม่กบ ได้คำใช้ ๔ คำ คือ งามสรัพ สรูบ สรวบ แกล้งแสร้งสรวบ ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ร) แม่กม ได้คำใช้ ๓ คำ คือ สรีม สรวมชีพ เติมเสริม ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ร) แม่เกย ได้คำใช้ ๔ คำ คือ เสรย สร่าย สร่ายสายดิ่ง สรวย ๚ะ

๏ จบแม่ที่ ๕ เพียงนี้ ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (ล) แจกดังนี้ ๚ะ

๏ ขล ขลา ขลิ ขลี ขลึ ขลื ขลุ ขลู เขล แขล ไขล ใขล โขล เขลา ขลำ ขละ ๚ะ

๏ ขลน ขลัน ขลาน ขลิน ขลีน ขลึน ขลืน ขลุน ขลูน เขลน แขลน โขลน ขลอน ขลวน เขลียน เขลือน เขลิน เขลอน ๚ะ

๏ ขลง ขลัง ขลาง ขลิง ขลีง ขลึง ขลืง ขลุง ขลูง เขลง แขลง โขลง ขลอง ขลวง เขลียง เขลือง เขลิง เขลอง ๚ะ

๏ ขลก ขลัก ขลาก ขลิก ขลีก ขลึก ขลืก ขลุก ขลูก เขลก แขลก โขลก ขลอก ขลวก เขลียก เขลือก เขลิก เขลอก ๚ะ

๏ ขลด ขลัด ขลาด ขลิด ขลีด ขลึด ขลืด ขลุด ขลูด เขลด แขลด โขลด ขลอด ขลวด เขลียด เขลือด เขลิด เขลอด ๚ะ

๏ ขลบ ขลับ ขลาบ ขลิบ ขลีบ ขลึบ ขลืบ ขลุบ ขลูบ เขลบ แขลบ โขลบ ขลอบ ขลวบ เขลียบ เขลือบ เขลิบ เขลอบ ๚ะ

๏ ขลม ขลัม ขลาม ขลิม ขลีม ขลึม ขลืม ขลุม ขลูม เขลม แขลม โขลม ขลอม ขลวม เขลียม เขลือม เขลิม เขลอม ๚ะ

๏ เขลย เขลอย ขลาย ขลาว ขลิว ขลีว ขลึย ขลืย ขลุย ขลูย เขลว แขลว โขลย ขลอย ขลวย เขลียว เขลือย เขลีย เขลียะ เขลือ เขลือะ เขลอ เขลอะ ขลัว ขลัวะ เขละ แขละ โขละ เขลาะ ขลุํ ขลรรม ขลรร ขลอ ขล่อ ขล้อ ขลัย ขลือ ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (ล) แม่ ก กา ได้คำใช้ ๕ คำ คือ กูลขลา ต้นขลู่ ขลู่ทอง โฉดเขลา โขลเขล ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (ล) แม่กน ได้คำใช้ ๒ คำ คือ จ่าโขลน โขลนทวาร ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (ล) แม่กน ได้คำใช้ ๓ คำ คือ เวทมนต์ขลัง ไม้เขลง ช้างโขลง ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (ล) แม่กก ได้คำใช้ ๓ คำ คือ สั่นดังขลุก ๆ ทำการขลุกขลุ่ย ใส่ครกโขลก ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (ล) แม่กด ได้คำใช้คำ ๑ คือ คนขลาดไม่อาจหาญ ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (ล) แม่กบ ได้คำใช้ ๔ คำ คือ ดำขลับ ผ้าขลิบ เล่นขลุบ เบ้าขลุบ ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (ล) แม่กม ได้คำใช้ ๒ คำ คือ ตีขลุม ขลุมเครื่องม้า ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (ล) แม่เกย ได้คำใช้ ๓ คำ คือ เป่าขลุ่ย บ้านขล้อ พูดขล้อย ๆ ๚ะ

๏ ตัว (ฉ) นำตัว (ล) แจกดังนี้ ๚ะ

๏ ฉล ฉลา ฉลิ ฉลี ฉลึ ฉลื ฉลุ ฉลู เฉล แฉล ไฉล ใฉล โฉล เฉลา ฉลำ ฉละ ๚ะ

๏ ฉลน ฉลัน ฉลาน ฉลิน ฉลีน ฉลึน ฉลืน ฉลุน ฉลูน เฉลน แฉลน โฉลน ฉลอน ฉลวน เฉลียน เฉลือน เฉลิน เฉลอน ๚ะ

๏ ฉลง ฉลัง ฉลาง ฉลิง ฉลีง ฉลึง ฉลืง ฉลุง ฉลูง เฉลง แฉลง โฉลง ฉลอง ฉลวง เฉลียง เฉลือง เฉลิง เฉลอง ๚ะ

๏ ฉลก ฉลัก ฉลาก ฉลิก ฉลีก ฉลึก ฉลืก ฉลุก ฉลูก เฉลก แฉลก โฉลก ฉลอก ฉลวก เฉลียก เฉลือก เฉลิก เฉลอก ๚ะ

๏ ฉลด ฉลัด ฉลาด ฉลิด ฉลีด ฉลึด ฉลืด ฉลุด ฉลูด เฉลด แฉลด โฉลด ฉลอด ฉลวด เฉลียด เฉลือด เฉลิด เฉลอด ๚ะ

๏ ฉลบ ฉลับ ฉลาบ ฉลิบ ฉลีบ ฉลึบ ฉลืบ ฉลุบ ฉลูบ เฉลบ แฉลบ โฉลบ ฉลอบ ฉลวบ เฉลียบ เฉลือบ เฉลิบ เฉลอบ ๚ะ

๏ ฉลม ฉลัม ฉลาม ฉลิม ฉลีม ฉลึม ฉลืม ฉลุม ฉลูม เฉลม แฉลม โฉลม ฉลอม ฉลวม เฉลียม เฉลือม เฉลิม เฉลอม ๚ะ

๏ เฉลย เฉลอย ฉลาย ฉลาว ฉลิว ฉลีว ฉลึย ฉลืย ฉลุย ฉลูย เฉลว แฉลว โฉลย ฉลอย ฉลวย เฉลียว เฉลือย เฉลีย เฉลียะ เฉลือ เฉลือะ เฉลอ เฉลอะ ฉลัว ฉลัวะ เฉละ แฉละ โฉละ เฉลาะ ฉลุํ ฉลรรม ฉลรร ฉลอ ฉล่อ ฉล้อ ฉลัย ฉลือ ๚ะ

----------------------------

๏ ตัว (ฉ) นำตัว (ล) แม่ก กา ได้คำใช้ ๓ คำ คือ ฉลุฉลาย ปีฉลู โฉมเฉลา ๚ะ

๏ ตัว (ฉ) นำตัว (ล) แม่กนไม่มีคำใช้ ๚ะ

๏ ตัว (ฉ) นำตัว (ล) แม่กงได้คำใช้ ๓ คำ คือ บ้านบางโฉลง ฉลองวัด ด้านเฉลียง ๚ะ

๏ ตัว (ฉ) นำตัว (ล) แม่กกได้คำใช้ ๔ คำ คือ ฉลาก ไม้ฉลีก ฉลุกฉลวย ต้องโฉลก ๚ะ

๏ ตัว (ฉ) นำตัว (ล) แม่กด ได้คำใช้คำ ๑ คือ คนฉลาด ๚ะ

๏ ตัว (ฉ) นำตัว (ล) แม่กบ ได้คำใช้คำ ๑ คือ นกบินแฉลบ ๚ะ

๏ ตัว (ฉ) นำตัว (ล) แม่กงได้คำใช้ ๓ คำ คือ ปลาฉลาม เรือฉลอม เปนเฉลิม ๚ะ

๏ ตัว (ฉ) นำตัว (ล) แม่เกย ได้คำใช้ ๖ คำ คือ เฉลยไข ปักเฉลว ฉลุกฉลวย คิดเฉลียว เฉลี่ยกันไป แฉละใช้แผลงว่าชำและ ๚ะ

----------------------------

๏ ตัว (ถ) นำตัว (ล) แจกดังนี้ ๚ะ

๏ ถล ถลา ถลิ ถลี ถลึ ถลื ถลุ ถลู เถล แถล ไถล ใถล โถล เถลา ถลำ ถละ ๚ะ

๏ ถลน ถลัน ถลาน ถลิน ถลีน ถลึน ถลืน ถลุน ถลูน เถลน แถลน โถลน ถลอน ถลวน เถลียน เถลือน เถลิน เถลอน ๚ะ

๏ ถลง ถลัง ถลาง ถลิง ถลีง ถลึง ถลืง ถลุง ถลูง เถลง แถลง โถลง ถลอง ถลวง เถลียง เถลือง เถลิง เถลอง ๚ะ

๏ ถลก ถลัก ถลาก ถลิก ถลีก ถลึก ถลืก ถลุก ถลูก เถลก แถลก โถลก ถลอก ถลวก เถลียก เถลือก เถลิก เถลอก ๚ะ

๏ ถลด ถลัด ถลาด ถลิด ถลีด ถลึด ถลืด ถลุด ถลูด เถลด แถลด โถลด ถลอด ถลวด เถลียด เถลือด เถลิด เถลอด ๚ะ

๏ ถลบ ถลับ ถลาบ ถลิบ ถลีบ ถลึบ ถลืบ ถลุบ ถลูบ เถลบ แถลบ โถลบ ถลอบ ถลวบ เถลียบ เถลือบ เถลิบ เถลอบ ๚ะ

๏ ถลม ถลัม ถลาม ถลิม ถลีม ถลึม ถลืม ถลุม ถลูม เถลม แถลม โถลม ถลอม ถลวม เถลียม เถลือม เถลิม เถลอม ๚ะ

๏ เถลย เถลอย ถลาย ถลาว ถลิว ถลีว ถลึย ถลืย ถลุย ถลูย เถลว แถลว โถลย ถลอย ถลวย เถลียว เถลือย เถลีย เถลียะ เถลือ เถลือะ เถลอ เถลอะ ถลัว ถลัวะ เถละ แถละ โถละ เถลาะ ถลุํ ถลรรม ถลรร ถลอ ถล่อ ถล้อ ถลัย ถลือ ๚ะ

๏ ตัว (ถ) นำตัว (ล) แม่ก กา ได้คำใช้ ๓ คำ คือ วิ่งถลา เถลไถล ถลีถลำ ๚ะ

๏ ตัว (ถ) นำตัว (ล) แม่กน ได้คำใช้ ๓ คำ คือ ตาถลน วิ่งถลัน ถลุ่นป่าน ๚ะ

๏ ตัว (ถ) นำตัว (ล) แม่กง ได้คำใช้ ๕ คำ คือ เมืองถลาง ถลึงตา ถลุงแร่ แถลงสาร เถลีงศก ๚ะ

๏ ตัว (ถ) นำตัว (ล) แม่กก ได้คำใช้ ๕ คำ คือ ถลกหนัง ถลากไถล หนังถลอก เถลือกถลน ผมเถลิก ๚ะ

๏ ตัว (ถ) นำตัว (ล) แม่กด ไม่มีคำใช้ ๚ะ

๏ ตัว (ถ) นำตัว (ล) แม่กบ ได้คำใช้คำ ๑ คือ นกบินแถลบ ๚ะ

๏ ตัว (ถ) นำตัว (ล) แม่กม ได้คำใช้ ๒ คำ คือ ลกถลม แผ่นดินถล่ม ๚ะ

๏ ตัว (ถ) นำตัว (ล) แม่เกย ได้คำใช้คำ ๑ คือ บุบถลาย ๚ะ

๏ ตัว (ผ) นำตัว (ล) แจกดังนี้ ๚ะ

๏ ผล ผลา ผลิ ผลี ผลึ ผลื ผลุ ผลู เผล แผล ไผล ใผล โผล เผลา ผลำ ผละ ๚ะ

๏ ผลน ผลัน ผลาน ผลิน ผลีน ผลึน ผลืน ผลุน ผลูน เผลน แผลน โผลน ผลอน ผลวน เผลียน เผลือน เผลิน เผลอน ๚ะ

๏ ผลง ผลัง ผลาง ผลิง ผลีง ผลึง ผลืง ผลุง ผลูง เผลง แผลง โผลง ผลอง ผลวง เผลียง เผลือง เผลิง เผลอง ๚ะ

๏ ผลก ผลัก ผลาก ผลิก ผลีก ผลึก ผลืก ผลุก ผลูก เผลก แผลก โผลก ผลอก ผลวก เผลียก เผลือก เผลิก เผลอก ๚ะ

๏ ผลด ผลัด ผลาด ผลิด ผลีด ผลึด ผลืด ผลุด ผลูด เผลด แผลด โผลด ผลอด ผลวด เผลียด เผลือด เผลิด เผลอด ๚ะ

๏ ผลบ ผลับ ผลาบ ผลิบ ผลีบ ผลึบ ผลืบ ผลุบ ผลูบ เผลบ แผลบ โผลบ ผลอบ ผลวบ เผลียบ เผลือบ เผลิบ เผลอบ ๚ะ

๏ ผลม ผลัม ผลาม ผลิม ผลีม ผลึม ผลืม ผลุม ผลูม เผลม แผลม โผลม ผลอม ผลวม เผลียม เผลือม เผลิม เผลอม ๚ะ

๏ เผลย เผลอย ผลาย ผลาว ผลิว ผลีว ผลึย ผลืย ผลุย ผลูย เผลว แผลว โผลย ผลอย ผลวย เผลียว เผลือย เผลีย เผลียะ เผลือ เผลือะ เผลอ เผลอะ ผลัว ผลัวะ เผละ แผละ โผละ เผลาะ ผลุํ ผลรรม ผลรร ผลอ ผล่อ ผล้อ ผลัย ผลือ ๚ะ

----------------------------

๏ ตัว (ผ) นำตัว (ล) แม่ก กา ได้คำใช้ ๘ คำ คือ พึ่งจะผลิ ดังผลุ ไปโดยผลู ไพล่เผล ยิ้มเผล่ ผุดโผล่ ปากแผล ผละไป ๚ะ

๏ ตัว (ผ) นำตัว (ล) แม่กน ได้คำใช้ ๓ คำ คือ ล้างผลาญ ผลุนผลัน ๚ะ

๏ ตัว (ผ) นำตัว (ล) แม่กง ได้คำใช้ ๔ คำ คือ ผลง ดังผลุง แผลงฤทธิ เผลียงแล้ง ๚ะ

๏ ตัว (ผ) นำตัว (ล) แม่กก ได้คำใช้ ๓ คำ คือ ผลักไส ทำโผลกเผลก ๚ะ

๏ ตัว (ผ) นำตัว (ล) แม่กด ได้คำใช้ ๒ คำ คือ เปลี่ยนผลัด หน้าไผลผลืด ๚ะ

๏ ตัว (ผ) นำตัว (ล) แม่กบ ได้คำใช้ ๓ คำ คือ โดดผลับ ดังผลุบ เลียแผลบ ๆ ๚ะ

๏ ตัว (ผ) นำตัว (ล) แม่กม ได้คำใช้คำ ๑ คือ ทำผลีผลาม ๚ะ

๏ ตัว (ผ) นำตัว (ล) แม่เกย ได้คำใช้ ๕ คำ คือ โดดแผลว ดังเผลาะ เผลาะแผละ พูดผลอ แผลผลือ ๚ะ

----------------------------

๏ ตัว (ส) นำตัว (ล) แจกดังนี้ ฯ

๏ สล สลา สลิ สลี สลึ สลื สลุ สลู เสล แสล ไสล ใสล โสล เสลา สลำ สละ ๚ะ

๏ สลน สลัน สลาน สลิน สลีน สลึน สลืน สลุน สลูน เสลน แสลน โสลน สลอน สลวน เสลียน เสลือน เสลิน เสลอน ๚ะ

๏ สลง สลัง สลาง สลิง สลีง สลึง สลืง สลุง สลูง เสลง แสลง โสลง สลอง สลวง เสลียง เสลือง เสลิง เสลอง ๚ะ

๏ สลก สลัก สลาก สลิก สลีก สลึก สลืก สลุก สลูก เสลก แสลก โสลก สลอก สลวก เสลียก เสลือก เสลิก เสลอก ๚ะ

๏ สลด สลัด สลาด สลิด สลีด สลึด สลืด สลุด สลูด เสลด แสลด โสลด สลอด สลวด เสลียด เสลือด เสลิด เสลอด ๚ะ

๏ สลบ สลับ สลาบ สลิบ สลีบ สลึบ สลืบ สลุบ สลูบ เสลบ แสลบ โสลบ สลอบ สลวบ เสลียบ เสลือบ เสลิบ เสลอบ ๚ะ

๏ สลม สลัม สลาม สลิม สลีม สลึม สลืม สลุม สลูม เสลม แสลม โสลม สลอม สลวม เสลียม เสลือม เสลิม เสลอม ๚ะ

๏ เสลย เสลอย สลาย สลาว สลิว สลีว สลึย สลืย สลุย สลูย เสลว แสลว โสลย สลอย สลวย เสลียว เสลือย เสลีย เสลียะ เสลือ เสลือะ เสลอ เสลอะ สลัว สลัวะ เสละ แสละ โสละ เสลาะ สลุํ สลรรม สลรร สลอ สล่อ สล้อ สลัย สลือ ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ล) แม่ ก กา ได้คำใช้ ๗ คำ คือ ชานสลา ลมสลาตัน ดอยสลี เนินไศล สล้างเสลา ผลสละ สละทิ้ง ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ล) แม่กน ได้คำใช้ ๓ คำ คือ เสลือกสลน สลับสลอน ยกมือไหว้สลอน ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ล) แม่กง ได้คำใช้ ๔ คำ คือ แลสล้าง เงินสลึง ของแสลง พระเสลี่ยง ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ล) แม่กก ได้คำใช้ ๔ คำ คือ ช่างสลัก แจกสลาก สารโสลก เสลือกสลน ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ล) แม่กด ได้คำใช้ ๗ คำ คือ หน้าสลด สลัดวัดเหวี่ยง ปลาสลาด ปลาสลิด อ้ายจีนสลัด ยิงปืนสลุด เสลด ผลสลอด ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ล) แม่กบ ได้คำใช้ ๓ คำ คือ สลบแน่นิ่ง สลับซับซ้อน เรือสลุบ ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ล) แม่กม ได้คำใช้คำ ๑ คือ สรลมชม ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ล) แม่เกย ได้คำใช้ ๒ คำ คือ ร้าวสลาย สละสลวย ๚ะ

๏ จบแม่ที่ ๖ เพียงนี้ ๚ะ

----------------------------

๏ ตัว (ข) นำตัว (ว) แจกดังนี้ ๚ะ

๏ ขว ขวา ขวิ ขวี ขวึ ขวื ขวุ ขวู เขว แขว ไขว ใขว โขว เขวา ขวำ ขวะ ๚ะ

๏ ขวน ขวัน ขวาน ขวิน ขวีน ขวึน ขวืน ขวุน ขวูน เขวน แขวน โขวน ขวอน ขววน เขวียน เขวือน เขวิน เขวอน ๚ะ

๏ ขวง ขวัง ขวาง ขวิง ขวีง ขวึง ขวืง ขวุง ขวูง เขวง แขวง โขวง ขวอง ขววง เขวียง เขวือง เขวิง เขวอง ๚ะ

๏ ขวก ขวัก ขวาก ขวิก ขวีก ขวึก ขวืก ขวุก ขวูก เขวก แขวก โขวก ขวอก ขววก เขวียก เขวือก เขวิก เขวอก ๚ะ

๏ ขวด ขวัด ขวาด ขวิด ขวีด ขวึด ขวืด ขวุด ขวูด เขวด แขวด โขวด ขวอด ขววด เขวียด เขวือด เขวิด เขวอด ๚ะ

๏ ขวบ ขวับ ขวาบ ขวิบ ขวีบ ขวึบ ขวืบ ขวุบ ขวูบ เขวบ แขวบ โขวบ ขวอบ ขววบ เขวียบ เขวือบ เขวิบ เขวอบ ๚ะ

๏ ขวม ขวัม ขวาม ขวิม ขวีม ขวึม ขวืม ขวุม ขวูม เขวม แขวม โขวม ขวอม ขววม เขวียม เขวือม เขวิม เขวอม ๚ะ

๏ เขวย เขวอย ขวาย ขวาว ขวิว ขวีว ขวึย ขวืย ขวุย ขวูย เขวว แขวว โขวย ขวอย ขววย เขวียว เขวือย เขวีย เขวียะ เขวือ เขวือะ เขวอ เขวอะ ขวัว ขวัวะ เขวะ แขวะ โขวะ เขวาะ ขวุํ ขวรรม ขวรร ขวอ ขว่อ ขว้อ ขวัย ขวือ ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (ว) แม่ ก กา ได้คำใช้ ๖ คำ คือซ้ายขวา ไขว้เขว ขวักไขว่ ไขว่ชลอม หกขว้ำ ด่านเจ้าเขว้า ไม้เขว้า ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (ว) แม่กน ได้คำใช้ ๔ คำ คือ ขวนขวาย ทำขวัญ สิ่วขวาน ห้อยแขวน ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (ว) แม่กง ได้คำใช้ ๔ คำ คือ กีดขวาง กว้างขวาง ทิ้งขว้าง แขวงกรุงเทพฯ ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (ว) แม่กก ได้คำใช้ ๓ คำ คือ ขวักไขว่ ถูกขวาก นกแขวก ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (ว) แม่กด ได้คำใช้ ๓ คำ คือ ต้นขวาด ผลมขวิด กระบือขวิด ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (ว) แม่กบ ได้คำใช้ ๒ คำ คือ ตีดังขวับ เสียงขวาบๆ ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (ว) แม่กม ไม่มีคำใช้ ๚ะ

๏ ตัว (ข) นำตัว (ว) แม่เกยได้คำใช้ ๓ คำ คือ ขวนขวาย หวดขวิว ขวาบเขวียว ๚ะ

๏ ตัว (ฉ) นำตัว (ว) แจกดังนี้ ๚ะ

๏ ฉว ฉวา ฉวิ ฉวี ฉวึ ฉวื ฉวุ ฉวู เฉว แฉว ไฉว ใฉว โฉว เฉวา ฉวำ ฉวะ ๚ะ

๏ ฉวน ฉวัน ฉวาน ฉวิน ฉวีน ฉวึน ฉวืน ฉวุน ฉวูน เฉวน แฉวน โฉวน ฉวอน ฉววน เฉวียน เฉวือน เฉวิน เฉวอน ๚ะ

๏ ฉวง ฉวัง ฉวาง ฉวิง ฉวีง ฉวึง ฉวืง ฉวุง ฉวูง เฉวง แฉวง โฉวง ฉวอง ฉววง เฉวียง เฉวือง เฉวิง เฉวอง ๚ะ

๏ ฉวก ฉวัก ฉวาก ฉวิก ฉวีก ฉวึก ฉวืก ฉวุก ฉวูก เฉวก แฉวก โฉวก ฉวอก ฉววก เฉวียก เฉวือก เฉวิก เฉวอก ๚ะ

๏ ฉวด ฉวัด ฉวาด ฉวิด ฉวีด ฉวึด ฉวืด ฉวุด ฉวูด เฉวด แฉวด โฉวด ฉวอด ฉววด เฉวียด เฉวือด เฉวิด เฉวอด ๚ะ

๏ ฉวบ ฉวับ ฉวาบ ฉวิบ ฉวีบ ฉวึบ ฉวืบ ฉวุบ ฉวูบ เฉวบ แฉวบ โฉวบ ฉวอบ ฉววบ เฉวียบ เฉวือบ เฉวิบ เฉวอบ ๚ะ

๏ ฉวม ฉวัม ฉวาม ฉวิม ฉวีม ฉวึม ฉวืม ฉวุม ฉวูม เฉวม แฉวม โฉวม ฉวอม ฉววม เฉวียม เฉวือม เฉวิม เฉวอม ๚ะ

๏ เฉวย เฉวอย ฉวาย ฉวาว ฉวิว ฉวีว ฉวึย ฉวืย ฉวุย ฉวูย เฉวว แฉวว โฉวย ฉวอย ฉววย เฉวียว เฉวือย เฉวีย เฉวียะ เฉวือ เฉวือะ เฉวอ เฉวอะ ฉวัว ฉวัวะ เฉวะ แฉวะ โฉวะ เฉวาะ ฉวุํ ฉวรรม ฉวรร ฉวอ ฉว่อ ฉว้อ ฉวัย ฉวือ ๚ะ

๏ ตัว (ฉ) นำตัว (ว) แม่ก กา ได้คำใช้ ๒ คำ คือ พระฉวี ทางแฉว ๚ะ

๏ ตัว (ฉ) นำตัว (ว) แม่กน ได้คำใช้ ๒ คำ คือ วงเฉวียน ฉวัดเฉวียน ๚ะ

๏ ตัว (ฉ) นำตัว (ว) แม่กง ได้คำใช้ ๓ คำ คือ เลขฉวาง ปลาแฉวง เบื้องเฉวียง ๚ะ

๏ ตัว (ฉ) นำตัว (ว) แม่กก ไม่มีคำใช้ ๚ะ

๏ ตัว (ฉ) นำตัว (ว) แม่กด ได้คำใช้คำ ๑ คือ ฉวัดเฉวิยน ๚ะ

๏ ตัว (ฉ) นำตัว (ว) แม่กบ แม่กม แม่เกย ไม่มีคำใช้ ๚ะ

๏ ตัว (ถ) นำตัว (ว) แจกดังนี้ ๚ะ

----------------------------

๏ ถว ถวา ถวิ ถวี ถวึ ถวื ถวุ ถวู เถว แถว ไถว ใถว โถว เถวา ถวำ ถวะ ๚ะ

๏ ถวน ถวัน ถวาน ถวิน ถวีน ถวึน ถวืน ถวุน ถวูน เถวน แถวน โถวน ถวอน ถววน เถวียน เถวือน เถวิน เถวอน ๚ะ

๏ ถวง ถวัง ถวาง ถวิง ถวีง ถวึง ถวืง ถวุง ถวูง เถวง แถวง โถวง ถวอง ถววง เถวียง เถวือง เถวิง เถวอง ๚ะ

๏ ถวก ถวัก ถวาก ถวิก ถวีก ถวึก ถวืก ถวุก ถวูก เถวก แถวก โถวก ถวอก ถววก เถวียก เถวือก เถวิก เถวอก ๚ะ

๏ ถวด ถวัด ถวาด ถวิด ถวีด ถวึด ถวืด ถวุด ถวูด เถวด แถวด โถวด ถวอด ถววด เถวียด เถวือด เถวิด เถวอด ๚ะ

๏ ถวบ ถวับ ถวาบ ถวิบ ถวีบ ถวึบ ถวืบ ถวุบ ถวูบ เถวบ แถวบ โถวบ ถวอบ ถววบ เถวียบ เถวือบ เถวิบ เถวอบ ๚ะ

๏ ถวม ถวัม ถวาม ถวิม ถวีม ถวึม ถวืม ถวุม ถวูม เถวม แถวม โถวม ถวอม ถววม เถวียม เถวือม เถวิม เถวอม ๚ะ

๏ เถวย เถวอย ถวาย ถวาว ถวิว ถวีว ถวึย ถวืย ถวุย ถวูย เถวว แถวว โถวย ถวอย ถววย เถวียว เถวือย เถวีย เถวียะ เถวือ เถวือะ เถวอ เถวอะ ถวัว ถวัวะ เถวะ แถวะ โถวะ เถวาะ ถวุํ ถวรรม ถวรร ถวอ ถว่อ ถว้อ ถวัย ถวือ ๚ะ

----------------------------

๏ ตัว (ถ) นำตัว (ว) แม่ก กา ได้คำใช้คำ ๑ คือ ปัถวี ๚ะ

๏ ตัว (ถ) นำตัว (ว) แม่กน ได้คำใช้ ๒ คำ คือ ถวัลยราช ถวิลหวัง ๚ะ

๏ ตัว (ถ) นำตัว (ว) แม่กง แม่กก แม่กด แม่กบ แม่กม ไม่มีคำใช้ ๚ะ

๏ ตัว (ถ) นำตัว (ว) แม่เกย ได้คำใช้ ๒ คำ คือ ถวาย เถวอ ๚ะ

----------------------------

๏ ตัว (ผ) นำตัว (ว) แจกดังนี้ ๚ะ

๏ ผว ผวา ผวิ ผวี ผวึ ผวื ผวุ ผวู เผว แผว ไผว ใผว โผว เผวา ผวำ ผวะ ๚ะ

๏ ผวน ผวัน ผวาน ผวิน ผวีน ผวึน ผวืน ผวุน ผวูน เผวน แผวน โผวน ผวอน ผววน เผวียน เผวือน เผวิน เผวอน ๚ะ

๏ ผวง ผวัง ผวาง ผวิง ผวีง ผวึง ผวืง ผวุง ผวูง เผวง แผวง โผวง ผวอง ผววง เผวียง เผวือง เผวิง เผวอง ๚ะ

๏ ผวก ผวัก ผวาก ผวิก ผวีก ผวึก ผวืก ผวุก ผวูก เผวก แผวก โผวก ผวอก ผววก เผวียก เผวือก เผวิก เผวอก ๚ะ

๏ ผวด ผวัด ผวาด ผวิด ผวีด ผวึด ผวืด ผวุด ผวูด เผวด แผวด โผวด ผวอด ผววด เผวียด เผวือด เผวิด เผวอด ๚ะ

๏ ผวบ ผวับ ผวาบ ผวิบ ผวีบ ผวึบ ผวืบ ผวุบ ผวูบ เผวบ แผวบ โผวบ ผวอบ ผววบ เผวียบ เผวือบ เผวิบ เผวอบ ๚ะ

๏ ผวม ผวัม ผวาม ผวิม ผวีม ผวึม ผวืม ผวุม ผวูม เผวม แผวม โผวม ผวอม ผววม เผวียม เผวือม เผวิม เผวอม ๚ะ

๏ เผวย เผวอย ผวาย ผวาว ผวิว ผวีว ผวึย ผวืย ผวุย ผวูย เผวว แผวว โผวย ผวอย ผววย เผวียว เผวือย เผวีย เผวียะ เผวือ เผวือะ เผวอ เผวอะ ผวัว ผวัวะ เผวะ แผวะ โผวะ เผวาะ ผวุํ ผวรรม ผวรร ผวอ ผว่อ ผว้อ ผวัย ผวือ ๚ะ

๏ ตัว (ผ) นำตัว (ว) แม่ก กา ได้คำใช้คำ ๑ คือ หวาดผวา ๚ะ

๏ ตัว (ผ) นำตัว (ว) แม่กน แม่กง แม่กก แม่กด แม่กบ แม่กม แม่เกย ไม่มีคำใช้ ๚ะ

----------------------------

๏ ตัว (ฝ) นำตัว (ว) ก็ไม่มีคำใช้ ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ว) แจกดังนี้ ๚ะ

๏ สว สวา สวิ สวี สวึ สวื สวุ สวู เสว แสว ไสว ใสว โสว เสวา สวำ สวะ ๚ะ

๏ สวน สวัน สวาน สวิน สวีน สวึน สวืน สวุน สวูน เสวน แสวน โสวน สวอน สววน เสวียน เสวือน เสวิน เสวอน ๚ะ

๏ สวง สวัง สวาง สวิง สวีง สวึง สวืง สวุง สวูง เสวง แสวง โสวง สวอง สววง เสวียง เสวือง เสวิง เสวอง ๚ะ

๏ สวก สวัก สวาก สวิก สวีก สวึก สวืก สวุก สวูก เสวก แสวก โสวก สวอก สววก เสวียก เสวือก เสวิก เสวอก ๚ะ

๏ สวด สวัด สวาด สวิด สวีด สวึด สวืด สวุด สวูด เสวด แสวด โสวด สวอด สววด เสวียด เสวือด เสวิด เสวอด ๚ะ

๏ สวบ สวับ สวาบ สวิบ สวีบ สวึบ สวืบ สวุบ สวูบ เสวบ แสวบ โสวบ สวอบ สววบ เสวียบ เสวือบ เสวิบ เสวอบ ๚ะ

๏ สวม สวัม สวาม สวิม สวีม สวึม สวืม สวุม สวูม เสวม แสวม โสวม สวอม สววม เสวียม เสวือม เสวิม เสวอม ๚ะ

๏ เสวย เสวอย สวาย สวาว สวิว สวีว สวึย สวืย สวุย สวูย เสวว แสวว โสวย สวอย สววย เสวียว เสวือย เสวีย เสวียะ เสวือ เสวือะ เสวอ เสวอะ สวัว สวัวะ เสวะ แสวะ โสวะ เสวาะ สวุํ สวรรม สวรร สวอ สว่อ สว้อ สวัย สวือ ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ว) แม่ก กา ได้คำใช้ ๔ คำ คือ สวามิภักดิ์ สวาวานร งามไสว สวะลอย ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ว) แม่กน ได้คำใช้ ๕ คำ คือ ไอสวรรย์ เมืองสวรรค์ สว่านใชไม้ สว้านลม เสวียนม่อ ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ว) แม่กง ได้คำใช้ ๖ คำ คือ พิศวง สวางคบุรี รุ่งสว่าง สวิงสวาย สวิงตักปลา แสวงหา ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ว) แม่กก ได้คำใช้คำ ๑ คือ สวกตักปลา ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ว) แม่กด ได้คำใช้ ๔ คำ คือ ศรีสวัสดิ์ สุดสวาด พิศวาศ ท่าสวิด ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ว) แม่กบ ได้คำใช้คำ ๑ คือ สวาบโครง ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ว) แม่กม ไม่มีคำใช้ ๚ะ

๏ ตัว (ส) นำตัว (ว) แม่เกย ได้คำใช้ ๒ คำ คือ เสวย ปลาสวาย ๚ะ

๏ จบแม่ที่ ๘ เพียงนี้ ๚ะ

----------------------------

๏ ตัว (ห) นำอักษรต่ำ ชักให้เปนอักษรสูงเล่าอ่านไม่ต้องออกเสียงตัว (ห) ควรนำได้ ๑๐ อักษร คือ ง ญ ณ น ม ย ร ล ว ฬ นำได้ทั่วไปใน แม่ ก กา กน กง กก กด กบ กม เกย แลผันด้วยไม้ ่ ้ ได้เหมือนตัว (ห) ทุกแม่จะแจกไว้ให้เปนแบบหย่างดังนี้ ๚ะ

----------------------------

๏ ตัว (ห) นำตัว (ง) แจกดังนี้ ๚ะ

๏ หง หงา หงิ หงี หงึ หงื หงุ หงู เหง แหง ไหง ใหง โหง เหงา หงำ หงะ ๚ะ

๏ หงน หงัน หงาน หงิน หงีน หงึน หงืน หงุน หงูน เหงน แหงน โหงน หงอน หงวน เหงียน เหงือน เหงิน เหงอน ๚ะ

๏ หงง หงัง หงาง หงิง หงีง หงึง หงืง หงุง หงูง เหงง แหงง โหงง หงอง หงวง เหงียง เหงือง เหงิง เหงอง ๚ะ

๏ หงก หงัก หงาก หงิก หงีก หงึก หงืก หงุก หงูก เหงก แหงก โหงก หงอก หงวก เหงียก เหงือก เหงิก เหงอก ๚ะ

๏ หงด หงัด หงาด หงิด หงีด หงึด หงืด หงุด หงูด เหงด แหงด โหงด หงอด หงวด เหงียด เหงือด เหงิด เหงอด ๚ะ

๏ หงบ หงับ หงาบ หงิบ หงีบ หงึบ หงืบ หงุบ หงูบ เหงบ แหงบ โหงบ หงอบ หงวบ เหงียบ เหงือบ เหงิบ เหงอบ ๚ะ

๏ หงม หงัม หงาม หงิม หงีม หงึม หงืม หงุม หงูม เหงม แหงม โหงม หงอม หงวม เหงียม เหงือม เหงิม เหงอม ๚ะ

๏ เหงย เหงอย หงาย หงาว หงิว หงีว หงึย หงืย หงุย หงูย เหงว แหงว โหงย หงอย หงวย เหงียว เหงือย เหงีย เหงียะ เหงือ เหงือะ เหงอ เหงอะ หงัว หงัวะ เหงะ แหงะ โหงะ เหงาะ หงุํ หงรรม หงรร หงอ หง่อ หง้อ หงัย หงือ ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ง) แม่ ก กา ได้คำใช้ ๔ คำ คือ บุหงา หน้าแหง ง่วงเหงา หงำหงะ ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ง) แม่กน ได้คำใช้ ๔ คำ คือ ตุหนาหงัน แหงนดู หงอนไก่ หง่อนหง่อ ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ง) แม่กง ได้คำใช้ ๔ คำ คือ ตำมหงง ดังหง่างๆ ร้องหงิง ๆ ดังโหง่งเหง่ง ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ง) แม่กก ได้คำใช้ ๖ คำ คือ เดินมาหงก ๆ ชักหงักๆ นิ้วหงิก ดังหงึก ๆ ผมหงอก ไรเหงือก ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ง) แม่กด ได้คำใช้ ๓ คำ คือ ใจหงุดหงิด บ่นหงอดๆ หงอดแหงด ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ง) แม่กบ ได้คำใช้ ๒ คำ คือ ชักหงับๆ นั่งโงกหงุบ ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ง) แม่กม ได้คำใช้ ๔ คำ คือ คนหงิม ทำหงุม แก่หง่อม หง่อมแหงม ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ง) แม่เกย ได้คำใช้ ๑๐ คำ คือ พลิกหงาย เว่าหง่าวๆ ร้องแหง่วๆ ดูหงอยไป เงื่องหงอย เหงื่อไค สังปะลิเหงะ ขวานเหงาะ จีนหงอ หง่อนหง่อ ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ญ) แจกดังนี้ ๚ะ

๏ หญ หญา หญิ หญี หญึ หญื หญุ หญู เหญ แหญ ไหญ ใหญ โหญ เหญา หญำ หญะ ๚ะ

๏ หญน หญัน หญาน หญิน หญีน หญึน หญืน หญุน หญูน เหญน แหญน โหญน หญอน หญวน เหญียน เหญือน เหญิน เหญอน ๚ะ

๏ หญง หญัง หญาง หญิง หญีง หญึง หญืง หญุง หญูง เหญง แหญง โหญง หญอง หญวง เหญียง เหญือง เหญิง เหญอง ๚ะ

๏ หญก หญัก หญาก หญิก หญีก หญึก หญืก หญุก หญูก เหญก แหญก โหญก หญอก หญวก เหญียก เหญือก เหญิก เหญอก ๚ะ

๏ หญด หญัด หญาด หญิด หญีด หญึด หญืด หญุด หญูด เหญด แหญด โหญด หญอด หญวด เหญียด เหญือด เหญิด เหญอด ๚ะ

๏ หญบ หญับ หญาบ หญิบ หญีบ หญึบ หญืบ หญุบ หญูบ เหญบ แหญบ โหญบ หญอบ หญวบ เหญียบ เหญือบ เหญิบ เหญอบ ๚ะ

๏ หญม หญัม หญาม หญิม หญีม หญึม หญืม หญุม หญูม เหญม แหญม โหญม หญอม หญวม เหญียม เหญือม เหญิม เหญอม ๚ะ

๏ เหญย เหญอย หญาย หญาว หญิว หญีว หญึย หญืย หญุย หญูย เหญว แหญว โหญย หญอย หญวย เหญียว เหญือย เหญีย เหญียะ เหญือ เหญือะ เหญอ เหญอะ หญัว หญัวะ เหญะ แหญะ โหญะ เหญาะ หญุํ หญรรม หญรร หญอ หญ่อ หญ้อ หญัย หญือ ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ญ) แม่ ก กา มีคำใช้ ๒ คำ คือ กอหญ้า ผู้ใหญ่ ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ญ) แม่กน ไม่มีคำใช้ ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ญ) แม่กง มีคำใช้ ๒ คำ คือ ผู้หญิง ต้นหญง ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ญ) แม่กก แม่กด แม่กบ แม่กม แม่เกย ไม่มีคำใช้ ๚ะ

----------------------------

๏ ตัว (ห) นำตัว (ณ) แจกเล่าเหมือนกันแต่ไม่มีคำใช้ ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (น) แจกดังนี้ ๚ะ

๏ หน หนา หนิ หนี หนึ หนื หนุ หนู เหน แหน ไหน ใหน โหน เหนา หนำ หนะ ๚ะ

๏ หนน หนัน หนาน หนิน หนีน หนึน หนืน หนุน หนูน เหนน แหนน โหนน หนอน หนวน เหนียน เหนือน เหนิน เหนอน ๚ะ

๏ หนง หนัง หนาง หนิง หนีง หนึง หนืง หนุง หนูง เหนง แหนง โหนง หนอง หนวง เหนียง เหนือง เหนิง เหนอง ๚ะ

๏ หนก หนัก หนาก หนิก หนีก หนึก หนืก หนุก หนูก เหนก แหนก โหนก หนอก หนวก เหนียก เหนือก เหนิก เหนอก ๚ะ

๏ หนด หนัด หนาด หนิด หนีด หนึด หนืด หนุด หนูด เหนด แหนด โหนด หนอด หนวด เหนียด เหนือด เหนิด เหนอด ๚ะ

๏ หนบ หนับ หนาบ หนิบ หนีบ หนึบ หนืบ หนุบ หนูบ เหนบ แหนบ โหนบ หนอบ หนวบ เหนียบ เหนือบ เหนิบ เหนอบ ๚ะ

๏ หนม หนัม หนาม หนิม หนีม หนึม หนืม หนุม หนูม เหนม แหนม โหนม หนอม หนวม เหนียม เหนือม เหนิม เหนอม ๚ะ

๏ เหนย เหนอย หนาย หนาว หนิว หนีว หนึย หนืย หนุย หนูย เหนว แหนว โหนย หนอย หนวย เหนียว เหนือย เหนีย เหนียะ เหนือ เหนือะ เหนอ เหนอะ หนัว หนัวะ เหนะ แหนะ โหนะ เหนาะ หนุํ หนรรม หนรร หนอ หน่อ หน้อ หนัย หนือ ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (น) แม่ก กา ได้คำใช้ ๑๘ คำ คือ บางหนา ผลน้อยหน่า ต่อหน้า เปนตำหนิ คนหนี คนกระหนี่ หนู จอกแหน ใบสระแหน่ กระเหนดกระแหน่ ไปไหน อิเหนา หัวเหน่า หนุมเหน้า อิ่มหนำ ทำให้หนำใจ กระหน่ำ เหนียวเหนอะ พวกกินหนะ ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (น) แม่กน ได้คำใช้ ๔ คำ คือ หนั่นหนา หนานคำลาว หมอนหนุน ตัวหนอน ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (น) แม่กง ได้คำใช้ ๑๖ คำ คือ หนังสือ หนังสัตวต่าง ๆ เล่นหนัง นับหนึ่งสอง เกยหนึง เชิงกุหนุง นึกแหนง หนองบึง ย่องหน่อง หนักหน่วง เหนียงนก ดำเปนเหนี่ยง ดนตรี ดังหนิงเหน่ง ดังเหนงเหน่ง ดังโหนงโหน่ง ดังหนองหน่อง ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (น) แม่กก ได้คำใช้ ๗ คำ คือ พระตำหนัก น้ำหนัก เปนยางหนึก หน้าโหนก ผักหนอก หูหนวก สำเหนียกจำ ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (น) แม่กด ได้คำใช้ ๗ คำ คือ กำหนดไว้ กำหนัด ใบหนาด เหนียวหนืด ๆ บำเหน็ด เสียงหนอด หนวดเครา ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (น) แม่กบ ได้คำใช้ ๖ คำ คือ เหนียวหนับ ๆ กระหนาบ คีมหนีบ ตอดหนุบ ๆ เหน็บกฤช แหนบถอนหนวด ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (น) แม่กม ได้คำใช้ ๓ คำ คือ บ่งหนาม รุ่นหนุ่ม อายเหนียม ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (น) แม่เกย ได้คำใช้ ๑๑ คำ คือ หน่ายหนี น่าหนาว ไปสักน่อย หน่วยตา เข้าเหนียว หน่วงเหนี่ยว เหน็ดเหนือย ทิศเหนือ ยางเหนอะ โอหนอ หน่อไม้ ๚ะ

----------------------------

๏ ตัว (ห) นำตัว (ม) แจกดังนี้ ๚ะ

๏ หม หมา หมิ หมี หมึ หมื หมุ หมู เหม แหม ไหม ใหม โหม เหมา หมำ หมะ ๚ะ

๏ หมน หมัน หมาน หมิน หมีน หมึน หมืน หมุน หมูน เหมน แหมน โหมน หมอน หมวน เหมียน เหมือน เหมิน เหมอน ๚ะ

๏ หมง หมัง หมาง หมิง หมีง หมึง หมืง หมุง หมูง เหมง แหมง โหมง หมอง หมวง เหมียง เหมือง เหมิง เหมอง ๚ะ

๏ หมก หมัก หมาก หมิก หมีก หมึก หมืก หมุก หมูก เหมก แหมก โหมก หมอก หมวก เหมียก เหมือก เหมิก เหมอก ๚ะ

๏ หมด หมัด หมาด หมิด หมีด หมึด หมืด หมุด หมูด เหมด แหมด โหมด หมอด หมวด เหมียด เหมือด เหมิด เหมอด ๚ะ

๏ หมบ หมับ หมาบ หมิบ หมีบ หมึบ หมืบ หมุบ หมูบ เหมบ แหมบ โหมบ หมอบ หมวบ เหมียบ เหมือบ เหมิบ เหมอบ ๚ะ

๏ หมม หมัม หมาม หมิม หมีม หมึม หมืม หมุม หมูม เหมม แหมม โหมม หมอม หมวม เหมียม เหมือม เหมิม เหมอม ๚ะ

๏ เหมย เหมอย หมาย หมาว หมิว หมีว หมึย หมืย หมุย หมูย เหมว แหมว โหมย หมอย หมวย เหมียว เหมือย เหมีย เหมียะ เหมือ เหมือะ เหมอ เหมอะ หมัว หมัวะ เหมะ แหมะ โหมะ เหมาะ หมุํ หมรรม หมรร หมอ หม่อ หม้อ หมัย หมือ ๚ะ

----------------------------

๏ ตัว (ห) นำตัว (ม) แม่ ก กา ได้คำใช้ ๑๓ คำ คือ หมา หม่าปูน หมี โรงหมี่ หมู หมู่สัตว เหม่ๆ ป่านไหม ปรับไหม ปีใหม่ เพลิงไหม้ รับเหมา เรียกเด็กมาหม่ำ ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ม) แม่กน ได้คำใช้ ๑๒ คำ คือ สีหม่น หม่นหมอง หญิงหมัน คนหมั่น อลหม่าน ดูหมิ่น ขุนหมื่น หมื่นแสน จักรหมุน กลิ่นเหม็น เสื่อหมอน เหมือนกัน ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ม) แม่กง ได้คำใช้ ๘ คำ คือ กระหมั่ง บาดหมาง เหมาะเหมง กลองเหม่ง ฆ้องโหม่ง มัวหมอง หมอชื่อเหมี่ยง เหมืองน้ำ ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ม) แม่กก ได้คำใช้ ๗ คำ คือ ห่อหมก หมกไว้ หมักแช่ กินหมาก น้ำหมึก เมฆหมอก สวมหมวก ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ม) แม่กด ได้คำใช้ ๘ คำ คือ หมดสิ้น กำหมัด เหลกหมาด เปียกหมาด ๆ ใส่หมุด โหมดตาด หมวดหมู่ หั่นเหมือด ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ม) แม่กบ ได้คำใช้ ๓ คำ คือ ต่อยหมับ หมอบเฝ้า เตมกระเหมือบ ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ม) แม่กม ได้คำใช้ ๔ คำ คือ หมักหมม แหม่ม หม่อม โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ม) แม่เกย ได้คำใช้ ๑๐ คำ คือ จดหมาย กฎหมาย ตีดังหมุ่ย ท้องกระแหม่ว เรียกแมวเหมียว ตัวมะเหมี่ยว มาเหมื่อย ๆ แหมะไว้ งามเหมาะ หมอรักษาโรค ๚ะ

----------------------------

๏ ตัว (ห) นำตัว (ย) แจกดังนี้ ๚ะ

๏ หย หยา หยิ หยี หยึ หยื หยุ หยู เหย แหย ไหย ใหย โหย เหยา หยำ หยะ ๚ะ

๏ หยน หยัน หยาน หยิน หยีน หยึน หยืน หยุน หยูน เหยน แหยน โหยน หยอน หยวน เหยียน เหยือน เหยิน เหยอน ๚ะ

๏ หยง หยัง หยาง หยิง หยีง หยึง หยืง หยุง หยูง เหยง แหยง โหยง หยอง หยวง เหยียง เหยือง เหยิง เหยอง ๚ะ

๏ หยก หยัก หยาก หยิก หยีก หยึก หยืก หยุก หยูก เหยก แหยก โหยก หยอก หยวก เหยียก เหยือก เหยิก เหยอก ๚ะ

๏ หยด หยัด หยาด หยิด หยีด หยึด หยืด หยุด หยูด เหยด แหยด โหยด หยอด หยวด เหยียด เหยือด เหยิด เหยอด ๚ะ

๏ หยบ หยับ หยาบ หยิบ หยีบ หยึบ หยืบ หยุบ หยูบ เหยบ แหยบ โหยบ หยอบ หยวบ เหยียบ เหยือบ เหยิบ เหยอบ ๚ะ

๏ หยม หยัม หยาม หยิม หยีม หยึม หยืม หยุม หยูม เหยม แหยม โหยม หยอม หยวม เหยียม เหยือม เหยิม เหยอม ๚ะ

๏ เหยย เหยอย หยาย หยาว หยิว หยีว หยึย หยืย หยุย หยูย เหยว แหยว โหยย หยอย หยวย เหยียว เหยือย เหยีย เหยียะ เหยือ เหยือะ เหยอ เหยอะ หยัว หยัวะ เหยะ แหยะ โหยะ เหยาะ หยุํ หยรรม หยรร หยอ หย่อ หย้อ หยัย หยือ ๚ะ

----------------------------

๏ ตัว (ห) นำตัว (ย) แม่ ก กา ได้คำใช้ ๗ คำ คือ ปันหญี นุ่งหยี่ กำมะยี่ แหย่งแย่ วิ่งเหย่า เมาหยำเป ทำหยำเยอะ ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ย) แม่กน ได้คำใช้ ๘ คำ คือ ระเด่นดาหยน กิดาหยัน บาหยัน เย้ยหยัน กั้นหยั่น ดูหยุ่น ๆ ใจหยอน ย่อหย่อน ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ย) แม่กง ได้คำใช้ ๑๓ คำ คือ ตันหยง ยาหยัง หยั่งน้ำ เต้นหยาง ตัวหย่าง คนหยิ่ง เต้นเหยง นึกแหยง แหย่งแย่ วิ่งโหยง โหย่งโย่ ลายหย่อง ยุ่งเหยิง ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ย) แม่กก ได้คำใช้ ๘ คำ คือ ขวดหยก หยักขวั้น หยากได้ หยิกข่วน หยุกหยิก โหยกเหยก เย้าหยอก หยวกกล้วย ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ย) แม่กด ได้คำใช้ ๖ คำ คือ ย้อยหยด น้ำหยัด หยาดน้ำ หยุดอยู่ หยอดแป้ง เหยียดมือ ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ย) แม่กบ ได้คำใช้ ๕ คำ คือ อ่อนหยับ พูดหยาบ เอื้อมมือหยิบ หยุบไว้ ย่ำเหยียบ ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ย) แม่กม ได้คำใช้ ๔ คำ คือ หยาบหยาม ฝนตกหยิม ๆ ไว้ผมแหยม เปนหย่อมๆ ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ย) แม่เกย ได้คำใช้ ๘ คำ คือ เกิดศึกใหญ่ หยาวเมือง ดิ้นแหย่วๆ ปาหยอย ค่อยหย่อยกันไป เคี้ยวแหยะ ๆ หย่นเหยอะ ๆ เดินเหย่าเหยาะ ปุงหยอพม่า ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ร) แจกดังนี้ ๚ะ

๏ หร หรา หริ หรี หรึ หรื หรุ หรู เหร แหร ไหร ใหร โหร เหรา หรำ หระ ๚ะ

๏ หรน หรัน หราน หริน หรีน หรึน หรืน หรุน หรูน เหรน แหรน โหรน หรอน หรวน เหรียน เหรือน เหริน เหรอน ๚ะ

๏ หรง หรัง หราง หริง หรีง หรึง หรืง หรุง หรูง เหรง แหรง โหรง หรอง หรวง เหรียง เหรือง เหริง เหรอง ๚ะ

๏ หรก หรัก หราก หริก หรีก หรึก หรืก หรุก หรูก เหรก แหรก โหรก หรอก หรวก เหรียก เหรือก เหริก เหรอก ๚ะ

๏ หรด หรัด หราด หริด หรีด หรึด หรืด หรุด หรูด เหรด แหรด โหรด หรอด หรวด เหรียด เหรือด เหริด เหรอด ๚ะ

๏ หรบ หรับ หราบ หริบ หรีบ หรึบ หรืบ หรุบ หรูบ เหรบ แหรบ โหรบ หรอบ หรวบ เหรียบ เหรือบ เหริบ เหรอบ ๚ะ

๏ หรม หรัม หราม หริม หรีม หรึม หรืม หรุม หรูม เหรม แหรม โหรม หรอม หรวม เหรียม เหรือม เหริม เหรอม ๚ะ

๏ เหรย เหรอย หราย หราว หริว หรีว หรึย หรืย หรุย หรูย เหรว แหรว โหรย หรอย หรวย เหรียว เหรือย เหรีย เหรียะ เหรือ เหรือะ เหรอ เหรอะ หรัว หรัวะ เหระ แหระ โหระ เหราะ หรุํ หรรรม หรรร หรอ หร่อ หร้อ หรัย หรือ ๚ะ

----------------------------

๏ ตัว (ห) นำตัว (ร) แม่ ก กา ได้คำใช้ ๗ คำ คือ นัคะหรา นัคะหรี บุหรี่ แสงหริบหรี่ บ้านสำเหร่ ตึกสุเหร่า ปะหะหร่ำ ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ร) แม่กน ได้คำใช้ ๔ คำ คือ ปะเสหรัน หญ้าฝาหรั่น นายหรุ่น เงินเหรียน ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ร) แม่กง ได้คำใช้ ๖ คำ คือ บุหรง นายหรั่ง หนูหริ่ง เรไรหริ่ง ใบไม้โหรง นายหร่อง กะเหรี่ยง ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ร) แม่กก ได้คำใช้คำ ๑ คือ หัวเราะหริก ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ร) แม่กด ได้คำใช้ ๒ คำ คือ จังหรีด เตมแหรด ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ร) แม่กบ ได้คำใช้ ๔ คำ คือ ดิ้นหรบ ๆ เต้นหรับ หริบหรี่ หรุบรู่ ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ร) แม่กม ได้คำใช้ ๔ คำ คือ เมืองหรุ่ม ทอดครุ่ม หญ้าหรอมแหรม เต้นโหรม ๆ ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ร) แม่เกย ได้คำใช้ ๓ คำ คือ เดินหรอย ๆ วิ่งเหราะ ศึกหรอ ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ล) แจกดังนี้ ๚ะ

๏ หล หลา หลิ หลี หลึ หลื หลุ หลู เหล แหล ไหล ใหล โหล เหลา หลำ หละ ๚ะ

๏ หลน หลัน หลาน หลิน หลีน หลึน หลืน หลุน หลูน เหลน แหลน โหลน หลอน หลวน เหลียน เหลือน เหลิน เหลอน ๚ะ

๏ หลง หลัง หลาง หลิง หลีง หลึง หลืง หลุง หลูง เหลง แหลง โหลง หลอง หลวง เหลียง เหลือง เหลิง เหลอง ๚ะ

๏ หลก หลัก หลาก หลิก หลีก หลึก หลืก หลุก หลูก เหลก แหลก โหลก หลอก หลวก เหลียก เหลือก เหลิก เหลอก ๚ะ

๏ หลด หลัด หลาด หลิด หลีด หลึด หลืด หลุด หลูด เหลด แหลด โหลด หลอด หลวด เหลียด เหลือด เหลิด เหลอด ๚ะ

๏ หลบ หลับ หลาบ หลิบ หลีบ หลึบ หลืบ หลุบ หลูบ เหลบ แหลบ โหลบ หลอบ หลวบ เหลียบ เหลือบ เหลิบ เหลอบ ๚ะ

๏ หลม หลัม หลาม หลิม หลีม หลึม หลืม หลุม หลูม เหลม แหลม โหลม หลอม หลวม เหลียม เหลือม เหลิม เหลอม ๚ะ

๏ เหลย เหลอย หลาย หลาว หลิว หลีว หลึย หลืย หลุย หลูย เหลว แหลว โหลย หลอย หลวย เหลียว เหลือย เหลีย เหลียะ เหลือ เหลือะ เหลอ เหลอะ หลัว หลัวะ เหละ แหละ โหละ เหลาะ หลุํ หลรรม หลรร หลอ หล่อ หล้อ หลัย หลือ ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ล) แม่ ก กา ได้คำใช้ ๑๔ คำ คือ แบหลา ทั่วหล้า หุนหลี ชาติลู่หลี่ ลบหลู่ ตาเหล่ หลงใหล บ่าไหล่ ขวดโหล หล่อเหลา หมู่เหล่า ไหหล่ำ จรหล่ำ เปนไขหละ ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ล) แม่กน ได้คำใช้ ๑๐ คำ คือ หลนปลาร้า ร่วงหล่น บุหลัน ลดหลั่น แพรหลิน ร้องหลุนๆ หลานเหลน หลาวแหลน หลอกหลอน เรียกหล่อน ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ล) แม่กง ได้คำใช้ ๑๐ คำ คือ คนหลง ข้างหลัง หลั่งน้ำ ทองหลาง หมูหลึ่ง เอ๋าเหลง หลักแหล่ง ของหลวง ผ้าเหลือง ว่าวเหลิง ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ล) แม่กก ได้คำใช้ ๗ คำ คือ หลกผ้า ปักหลัก ของหลาก เสียงหลีก เหลวแหลก ลวงหลอก ตาเหลือก ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ล) แม่กด ได้คำใช้ ๕ คำ คือ ปลาหลด อยู่หลัดๆ ประหลาด ลุ่ยหลุด เป่าหลอด ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ล) แม่กบ ได้คำใช้ ๘ คำ คือ ลี้หลบ นอนหลับ เข็ดหลาบ เปนช่องหลืบ ทำหลอบ เหลือบดู ผ้าสีเหลือบ เหลือบยุง ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ล) แม่กม ได้คำใช้ ๑๐ คำ คือ ทางหล่ม เข้าหลาม ศีศะหลิม เบ้าหลิ่ม ขุดหลุม หนามแหลม หลอมทอง หลวมตัว งูเหลือม ลดเหลื่อม ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ล) แม่เกย ได้คำใช้ ๑๑ คำ คือ มากหลาย เสี้ยมหลาว ตาหลิ่ว หลุยไป น้ำเหลว แลเหลียว ล้ำเหลือ หน้าเหลอ สีหลัว ตาหลอ เตาหล่อ ๚ะ

----------------------------

ตัว (ห) นำตัว (ว) แจกดังนี้ ๚ะ

๏ หว หวา หวิ หวี หวึ หวื หวุ หวู เหว แหว ไหว ใหว โหว เหวา หวำ หวะ ๚ะ

๏ หวน หวัน หวาน หวิน หวีน หวึน หวืน หวุน หวูน เหวน แหวน โหวน หวอน หววน เหวียน เหวือน เหวิน เหวอน ๚ะ

๏ หวง หวัง หวาง หวิง หวีง หวึง หวืง หวุง หวูง เหวง แหวง โหวง หวอง หววง เหวียง เหวือง เหวิง เหวอง ๚ะ

๏ หวก หวัก หวาก หวิก หวีก หวึก หวืก หวุก หวูก เหวก แหวก โหวก หวอก หววก เหวียก เหวือก เหวิก เหวอก ๚ะ

๏ หวด หวัด หวาด หวิด หวีด หวึด หวืด หวุด หวูด เหวด แหวด โหวด หวอด หววด เหวียด เหวือด เหวิด เหวอด ๚ะ

๏ หวบ หวับ หวาบ หวิบ หวีบ หวึบ หวืบ หวุบ หวูบ เหวบ แหวบ โหวบ หวอบ หววบ เหวียบ เหวือบ เหวิบ เหวอบ ๚ะ

๏ หวม หวัม หวาม หวิม หวีม หวึม หวืม หวุม หวูม เหวม แหวม โหวม หวอม หววม เหวียม เหวือม เหวิม เหวอม ๚ะ

๏ เหวย เหวอย หวาย หวาว หวิว หวีว หวึย หวืย หวุย หวูย เหวว แหวว โหวย หวอย หววย เหวียว เหวือย เหวีย เหวียะ เหวือ เหวือะ เหวอ เหวอะ หวัว หวัวะ เหวะ แหวะ โหวะ เหวาะ หวุํ หวรรม หวรร หวอ หว่อ หว้อ หวัย หวือ ๚ะ

----------------------------

๏ ตัว (ห) นำตัว (ว) แม่ ก กา ได้คำใช้ ๑๔ คำ คือ ไปซิหวา หว่าใจ ต้นหว้า จักหวี แมลงหวี่ บินหวู่ ว้าเหว่ เสียงแหว ใบไม้ไหว กราบไหว้ มะพร้าวโหว่ นกดุเหว่า ฦกหวำ ขาตหวะ ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ว) แม่กน ได้คำใช้ ๔ คำ คือ ดาราหวั่นนึกหวั่น หวานดี หว่านเข้า แหวนทอง ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ว) แม่กง ได้คำใช้ ๕ คำ คือ คิดหวัง หว่างบ้าน ปากแหว่ง ดังโหว่งๆ วัดเหวี่ยงไป ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ว) แม่กก ได้คำใช้ ๒ คำ คือ แหวกหญ้า เรียกโหวกๆ ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ว) แม่กด ได้คำใช้ ๕ คำ คือ เบี้ยหวัด ใจหวาดหวุดหวิด ไปเป่านกหวีด ปลาก่อหวอด ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ว) แม่กบ ไม่มีคำใช้ ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ว) แม่กม ได้คำใช้ ๒ คำ คือ ใจวับ ๆ หวาม ๆ ฦกหวมลงไป ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ว) แม่เกย ได้คำใช้ ๙ คำ คือ ว่าเหวย หลาวหวาย ใจหวิว ดูแหวว ๆ ร้องโหวย ๆ หวัววิ่นเหวอะ แหวะดู ดังหวอ เสียงหวือ ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำตัว (ฬ) แจกเล่าเหมือนกันเหนได้คำใช้แต่ในแม่ ก กา คำ ๑ คือ ท้ายบาหฬี นอกนั้นไม่มีที่ใช้ ๚ะ

๏ ตัว (ห) นำอักษรต่ำให้เปนเสียงสูงจบเพียงนี้ ๚ะ

๏ อนึ่งอักษรกลางนำอักษรต่ำ สำเนียงแปลกกับอักษรประโยคดังนี้ ๚ะ

๏ ตัว (ก) นำตัว (น) แม่กก คือคำว่า กนก ๚ะ

๏ ตัว (ก) นำตัว (น) แม่กบ คือคำว่า กนาบ กนอบ ๚ะ

๏ ตัว (ก) นำตัว (น) แม่เกย คือคำว่า แกนะ ๚ะ

๏ ตัว (ก) นำตัว (ม) แม่กด คือคำว่า ดอกกมุท กมุดกมีด ๚ะ

๏ ตัว (ก) นำตัว (ย) แม่กง คือคำว่า เท้ากย่ง เดินเกย่ง ติดกย้องแกย้ง ๚ะ

๏ ตัว (ก) นำตัว (ย) แม่กบ คือคำว่า กยาบเรือ กยิบตา กยุบกยิบ ๚ะ

๏ ตัว (ก) นำตัว (ร) แม่กง คือคำว่า เกรี่ยง ๚ะ

๏ ตัว (ก) นำตัว (ร) แม่กบ คือคำว่า กรุบกริบ ๚ะ

๏ ตัว (จ) นำตัว (ม) แม่กก คือคำว่า จมูก ๚ะ

๏ ตัว (ต) นำตัว (ง) แม่กก คือคำว่า จำโตงก ตงอกวัว ๚ะ

๏ ตัว (ต) นำตัว (น) แม่ ก กา คือคำว่า เต่าตนุ ๚ะ

๏ ตัว (ต) นำตัว (น) แม่เกย คือคำว่า ใหญ่เตนะ ๚ะ

๏ ตัว (ต) นำตัว (น) แม่กด คือคำว่า ผลโตนด ต้นโตนด ๚ะ

๏ ตัว (ป) นำตัว (ม) แม่กด คือคำว่า ประมาท ๚ะ

๏ ตัว (ป) นำตัว (ย) แม่กด คือคำวา อัปยศ ๚ะ

๏ ตัว (ป) นำตัว (ล) แม่กก คือคำว่า อัปลักษณ์ ๚ะ

๏ ตัว (ป) นำตัว (ล) แม่กด คือคำว่า ปลัดกรม ประลาด ๚ะ

๏ ตัว (อ) นำตัว (ง) แม่กน คือคำว่า น้ำองุ่น ๚ะ

๏ ตัว (อ) นำตัว (น) แม่กด คือคำว่า เอน็ดอนาถ ๚ะ

๏ ตัว (อ) นำตัว (ย) แม่ ก กา คือคำว่า อย่า อยู่ ๚ะ

๏ ตัว (อ) นำตัว (ย) แม่กง คือคำว่า แบบอย่าง ๚ะ

๏ ตัว (อ) นำตัว (ย) แม่กก คือคำว่า อยากได้ ๚ะ

๏ ตัว (อ) นำตัว (ย) แม่กบ คือคำว่า อยาบช้า ๚ะ

๏ ตัว (อ) นำตัว (ร) แม่กม คือคำว่า อร่าม อรุ่ม เอรื่อ ๚ะ

๏ ตัว (อ) นำตัว (ร) แม่เกย คือคำว่า รศอร่อย ๚ะ

๏ จบวาหะนิติ์สิ้น สารสรร
เปนแบบระเบียบบรรพ์ บอกไว้
สำหรับนักเรียนขยัน ยลเยี่ยง อย่างเฮย
ควรแจกควรจำให้ ถูกถ้วนกระบวนสอน ๚ะ

แชร์ชวนกันอ่าน

แจ้งคำสะกดผิดและข้อผิดพลาด หรือคำแนะนำต่างๆ ได้ ที่นี่ค่ะ