บรรณานุกรม

ก. เอกสารประเภทตัวเขียน

พญาคันคาก. พญาคันคาก. หอสมุดแห่งชาติ เฉลิมพระเกียรติ ร.๙ นครราชสีมา.

หนังสือใบลาน ๑ ผูก. อักษรไทยน้อย. ภาษาบาลี – ไทยอีสาน. เส้นจาร. ฉบับลานดิบ.

หม่อมปูน สร้าง. ม.ป.ป. เลขที่ ๖๖ / ๑.

พระยาคันคาก. พระยาคันคาก. หอสมุดแห่งชาติ เฉลิมพระเกียรติ ร.๙ นครราชสีมา.

หนังสือใบลาน ๑ ผูก. อักษรไทยน้อย. ภาษาบาลี – ไทยอีสาน. เส้นจาร. ฉบับลานดิบ.

ยาครูกันหา สร้าง. ม.ป.ป. เลขที่ ๑๘๔๙ / ๑.

ลำพระยาคันคาก. ลำพระยาคันคาก. หอสมุดแห่งชาติ เฉลิมพระเกียรติ ร.๙

นครราชสีมา. หนังสือใบลาน ๑ ผูก. อักษรไทยน้อย. ภาษาบาลี - ไทยอีสาน.เส้นจาร. ฉบับลานดิบ.

ขนันพร สร้าง, ม.ป.ป. เลขที่ ๑๓๓๒ / ๑.

ข. เอกสารประเภทหนังสือ

กรมวิชาการ. หนังสือส่งเสริมการอ่านระดับมัธยมศึกษา เรื่อง ขนบธรรมเนียมประเพณีของอีสาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา, ๒๕๒๗. หน้า ๑๕ - ๑๗.

คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. สำนักงาน. พจนานุกรมภาษาถิ่นภาคฅะวันออกเฉียงเหนือ. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์, ๒๕๓๔.

คณะกรรมการจัดทำพจนานุกรมฉบับปณิธานสมเด็จพระมหาวีรวงศ์. พจนานุกรมภาคอีสาน-ภาคกลาง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพํไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๑๕.

คำพูน บุญทวี. นิทานโบราณภาคอีสาน. นนทบุรี: เยลโล่การพิมพ์. ๒๕๔๕. หน้า ๑๐๕ - ๑๐๗.

คุณช่วย ปิยวิทย์. วรรณกรรมท้องถิ่น. นครราชสีมา: ฝ่ายวิชาการและแผนงานโรงเรียนสุรนาวิทยา, ๒๕๓๓. หน้า ๒๙.

จารุวรรณ ธรรมวัตร. คติชาวบ้านอีสาน. กรุงเทพฯ: อักษรวัฒนา, ม.ป.ป. หน้า ๗.

จารุวรรณ ธรรมวัตร. ภูมิปัญญาแห่งอีสาน รวมบทความอีสานคติศึกษา. มหาสารคาม : ภาควิชาภาษาไทย และภาษาตะวันออก มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒมหาสารคาม, ม.ป.ป. หน้า ๔๔.

ธนาคารไทยพาณิชย์. สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคเหนือ. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์, ๒๕๔๒. หน้า ๔๓๕๖ - ๔๓๕๗.

ธนาคารไทยพาณิชย์. สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคอีสาน. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์, ๒๕๔๒. หน้า ๒๘๙๗ - ๒๙๐๐.

ธวัช ปุณโณทก. วรรณกรรมอีสาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์พีรพัธนา, ๒๕๒๒. หน้า ๒๓๗ - ๒๔๗.

ปรีชา พิณทอง. สารานุกรมภาษาอีสาน-ไทย-อังกฤษ. อุบลราชธานี: โรงพิมพ์ศรีธรรม, ๒๕๓๒. ปรีชา พิณทอง. ไขภาษิตโบราณอีสาน. อุบลราชธาน: โรงพิมพ์ศรีธรรม.๒๕๒๘.

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สถาบันวิจัยสังคม งานวิจัย ลานนาศึกษา โครงการวิจัยคัมภีร์ใบลานในภาคเหนือ. บัญชีรายชื่อคัมภีร์ใบลานจังหวัดลำปาง (งานสำรวจปี ๒๕๒๓ - ๒๕๒๔).

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. สำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม ห้องไทยศึกษานิทัศน์ สาขาศึกษาทั่วไป. สัญลักษณ์สำคัญในบุญบั้งไฟ การวิเคราะห์และตีความหมายทางมานุษยวิทยา. นครราชสีมา: ๒๕๔๑. หน้า ๑๕.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. สำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม ห้องไทยศึกษานิทัศน์ สาขาศึกษาทั่วไป. ฮีตบ้านคองเมือง รวมบทความทางมานุษยวิทยาว่าด้วยสังคมและวัฒนธรรมอีสาน. นครราชสีมา: ๒๕๔๔. หน้า ๗๘ - ๗๙.

มหาสอน, พระ. อักษรไทยน้อย อักษรธรรม. พระนคร: โรงพิมพ์อักษรเจริญทัศน์, ๒๔๘๑.

มหาสารคาม, จังหวัด. บุญเบิกฟ้า. มหาสารคาม: อภิชาติการพิมพ์, ๒๕๓๓. หน้า ๗๓ - ๘๑.

ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕. กรุงเทพฯ: มปท, ๒๕๒๕.

ฤดีมน ปรีดีสนิท. มองตำนานอ่านอดีต พิธีกรรมและความเชื่อของชุมชนสองฝั่งโขง. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน์. ๒๕๔๔. หน้า ๘๔ - ๘๕.

ศิลปากร, กรม. เอกสารประกอบการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง วรรณกรรมสองฝั่งโขง. ขอนแก่น: (อัดสำเนา) ๒๕๓๗. หน้า ๒๐ - ๒๑.

ศิลปากร, กรม. ตำนานและนิทานพื้นบ้านอีสาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา, ๒๕๓๑. หน้า ๗๗. สมัย สุทธิธรรม. บุญบั้งไฟ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา, ๒๕๓๐. หน้า ๒๒ - ๒๖.

แชร์ชวนกันอ่าน

แจ้งคำสะกดผิดและข้อผิดพลาด หรือคำแนะนำต่างๆ ได้ ที่นี่ค่ะ